เอเชียนคัพ 2019

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เอเชียนคัพ 2019

เอเชียนคัพ 2019 (อาหรับ: كأس آسيا 2019) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายชิงแชมป์เอเชีย (เอเชียนคัพ) ครั้งที่ 17 ภายใต้การควบคุมของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย โดยสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ได้รับคัดเลือกให้เป็นเจ้าภาพเมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2558 ซึ่งก่อนหน้านั้นเคยเป็นเจ้าภาพมาแล้วในเอเชียนคัพ 1996

ข้อมูลเบื้องต้น รายละเอียดการแข่งขัน, ประเทศเจ้าภาพ ...
เอเชียนคัพ 2019
Thumb
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
วันที่5 มกราคม – 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562
ทีม24 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่8 (ใน 4 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ กาตาร์ (สมัยที่ 1)
รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน39
จำนวนประตู103 (2.64 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม392,518 (10,065 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุด อัลโมซ อาลี
(9 ประตู)
2015
2023
ปิด

ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่เอเชียนคัพเพิ่มจำนวนทีมที่เข้าร่วมแข่งขันจาก 16 เป็น 24 ทีม[1] การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม จะมี 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม

ในรอบคัดเลือก เจ้าภาพได้สิทธิ์ผ่านเข้ารอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ส่วนทีมที่เหลือต้องแข่งขันกันไปเรื่อย ๆ จนได้ 23 ทีม โดยเริ่มแข่งตั้งแต่เดือนมีนาคม พ.ศ. 2558 ไปจนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 ในรอบคัดเลือก 2 รอบแรก จะดำเนินการแข่งร่วมกับฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย

ในการแข่งขันเอเชียนคัพครั้งนี้ ออสเตรเลียจะเป็นทีมที่ป้องกันตำแหน่งแชมป์ หลังจากที่ชนะเลิศในเอเชียนคัพ 2015 ที่ประเทศออสเตรเลีย แต่ทีมชนะเลิศเอเชียนคัพ 2019 ครั้งนี้ จะไม่ได้เข้าแข่งขันกับทีมชนะเลิศจากทวีปอื่น ๆ ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2021 เหมือนทุกปีที่ผ่านมา เนื่องจากรายการดังกล่าวถูกยุบโดยสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ และนำฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลกมาแข่งขันแทน[2]

การคัดเลือก

สรุป
มุมมอง
  ผ่านเข้ารอบ เอเชียนคัพ 2019
  กำลังคัดเลือก
  ไม่ผ่านการคัดเลือก
  ไม่ได้เข้าร่วม
  ไม่ได้เป็นสมาชิกของเอเอฟซี

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย

เอเชียนคัพ 2019 ได้ปรับเปลี่ยนจำนวนทีมในรอบสุดท้ายจาก 16 ทีม เป็น 24 ทีม โดยทีมที่ผ่านถึงรอบที่ 3 ของฟุตบอลโลก 2018 รอบคัดเลือก โซนเอเชีย รวมทั้งสิ้น 12 ทีมจะเข้าสู่รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติและจะทำการคัดเลือกทีมที่เหลือให้ได้ครบ 24 ทีม ซึ่งการแข่งขันในรอบคัดเลือกได้สิ้นสุดเมื่อ 27 มีนาคม พ.ศ. 2561 โดยได้ 24 ทีมผ่านเข้ารอบสุดท้ายที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ในที่นี้มีจำนวน 3 ชาติที่เพิ่งผ่านเข้ารอบสุดท้ายได้เป็นครั้งแรก ประกอบไปด้วย ฟิลิปปินส์, เยเมน และคีร์กีซสถาน สำหรับทีมชาติไทยเป็นการเข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้ายเป็นครั้งที่ 7

ข้อมูลเพิ่มเติม ทีม, วิธีการเข้ารอบ ...
ทีม วิธีการเข้ารอบ วันที่ผ่านเข้ารอบ ผลงานที่ดีที่สุด
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "sort"ข้อผิดพลาดสคริปต์: ไม่มีมอดูล "sort"รองชนะเลิศ (1996)
 ซาอุดีอาระเบียทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอ24 มีนาคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (1984, 1988, 1996)
 ออสเตรเลียทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มบี29 มีนาคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (2015)
 กาตาร์ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558รอบก่อนรองชนะเลิศ (2000, 2011)
 อิหร่านทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มดี29 มีนาคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (1968, 1972, 1976)
 ญี่ปุ่นทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี24 มีนาคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (1992,2000,2004,2011)
 ไทยทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ24 มีนาคม พ.ศ. 2559อันดับที่สาม (1972)
 เกาหลีใต้ทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มจี13 มกราคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (1956, 1960)
 อุซเบกิสถานทีมชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอช29 มีนาคม พ.ศ. 2559อันดับที่สี่ (2011)
 อิรักทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มเอฟ29 มีนาคม พ.ศ. 2559ชนะเลิศ (2007)
 ซีเรียทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มอี29 มีนาคม พ.ศ. 2559รอบแบ่งกลุ่ม (1980, 1984, 1988, 1996, 2011)
 จีนทีมรองชนะเลิศ รอบที่สอง กลุ่มซี29 มีนาคม พ.ศ. 2559รองชนะเลิศ (1984, 2004)
 อินเดียทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ11 ตุลาคม พ.ศ. 25603 (1964, 1984, 2011)
 คีร์กีซสถานทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอ22 มีนาคม พ.ศ. 25610 (ครั้งแรก)
 เลบานอนทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี10 พฤศจิกายน พ.ศ. 25601 (2000)
 เกาหลีเหนือทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มบี27 มีนาคม พ.ศ. 25614 (1980, 1992, 2011, 2015)
 จอร์แดนทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25603 (2004, 2011, 2015)
 เวียดนามทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มซี14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25603 (19562, 19602, 2007)
 ปาเลสไตน์ทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี10 ตุลาคม พ.ศ. 25601 (2015)
 โอมานทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มดี10 ตุลาคม พ.ศ. 25603 (2004, 2007, 2015)
 บาห์เรนทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25605 (1988, 2004, 2007, 2011, 2015)
 เติร์กเมนิสถานทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มอี14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25601 (2004)
 ฟิลิปปินส์ทีมชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ27 มีนาคม พ.ศ. 25610 (ครั้งแรก)
 เยเมนทีมรองชนะเลิศ รอบที่สาม กลุ่มเอฟ27 มีนาคม พ.ศ. 25610 (ครั้งแรก)
ปิด

สนาม

รายชื่อสนามที่ใช้แข่งขันทั้งหมด[3]

ข้อมูลเพิ่มเติม อาบูดาบี, ดูไบ ...
อาบูดาบี
สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน
ความจุ: 43,630 ที่นั่ง ความจุ: 42,056 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
Thumb Thumb Thumb
ดูไบ
สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม
ความจุ: 12,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
Thumb
ดูไบ
สนามกีฬาอาลมักตูม
ความจุ: 15,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
อัลอัยน์ ชาร์จาห์
สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด สนามกีฬาชาร์จาห์
ความจุ: 25,965 ที่นั่ง ความจุ: 16,000 ที่นั่ง (มีแผนขยาย) ความจุ: 11,073 ที่นั่ง (มีแผนขยาย)
Thumb
ปิด

การจับสลากแบ่งกลุ่ม

การจับสลากสำหรับฟุตบอลเอเชียนคัพรอบสุดท้ายได้จัดขึ้นในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ที่อาร์มานีโฮเทลในดูไบ ในฐานะเจ้าภาพ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์จะได้เป็นทีมวางอยู่ในโถที่ 1 ทีมอื่น ๆ อีก 23 ทีมจะได้รับการจัดสรรตามอันดับฟีฟ่าของพวกเขาในเดือนเมษายน พ.ศ. 2561 ทั้ง 24 ทีมจะได้รับการจับสลากแบ่งในกลุ่ม 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยชาติเจ้าภาพอยู่ในตำแหน่งเอ 1

ผู้ตัดสิน

สรุป
มุมมอง

5 ธันวาคม 2561 สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) ได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสินจำนวน 60 ราย ที่จะลงทำหน้าที่ตัดสินในเกมการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 ระหว่างวันที่ 5 มกราคม 2562 – 1 กุมภาพันธ์ 2562 ที่สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทั้งประเภทที่ทำหน้าที่ในสนาม และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ โดยแยกเป็นผู้ตัดสิน 30 ราย และผู้ช่วยผู้ตัดสินอีก 30 ราย

ผู้ตัดสิน

  • ประเทศออสเตรเลีย Chris Beath
  • ประเทศออสเตรเลีย Peter Green
  • ประเทศบาห์เรน Nawaf Shukralla
  • ประเทศจีน Fu Ming
  • ประเทศจีน Ma Ning
  • ฮ่องกง Liu Kwok Man
  • ประเทศอิหร่าน Alireza Faghani
  • ประเทศอิรัก Ali Sabah
  • ประเทศอิรัก Mohanad Qasim Eesee Sarray
  • ประเทศญี่ปุ่น Jumpei Iida
  • ประเทศญี่ปุ่น Hiroyuki Kimura
  • ประเทศญี่ปุ่น Ryuji Sato
  • ประเทศจอร์แดน Ahmed Al-Ali
  • ประเทศจอร์แดน Adham Makhadmeh
  • ประเทศเกาหลีใต้ Kim Dong-jin
  • ประเทศเกาหลีใต้ Ko Hyung-jin
  • ประเทศมาเลเซีย Mohd Amirul Izwan Yaacob
  • ประเทศเม็กซิโก César Arturo Ramos
  • ประเทศโอมาน Ahmed Al-Kaf
  • ประเทศกาตาร์ Abdulrahman Al-Jassim
  • ประเทศกาตาร์ Khamis Al-Kuwari
  • ประเทศกาตาร์ Khamis Al-Marri
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย Turki Al-Khudhayr
  • ประเทศสิงคโปร์ Muhammad Taqi
  • ประเทศศรีลังกา Hettikamkanamge Perera
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Ammar Al-Jeneibi
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Mohammed Abdulla Hassan Mohamed
  • ประเทศอุซเบกิสถาน Ravshan Irmatov
  • ประเทศอุซเบกิสถาน Valentin Kovalenko
  • ประเทศอุซเบกิสถาน Ilgiz Tantashev

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน

  • ประเทศออสเตรเลีย Matthew Cream
  • ประเทศออสเตรเลีย Anton Shchetinin
  • ประเทศบาห์เรน Mohamed Salman
  • ประเทศบาห์เรน Yaser Tulefat
  • ประเทศจีน Cao Yi
  • ประเทศจีน Huo Weiming
  • ประเทศอิหร่าน Mohammadreza Mansouri
  • ประเทศอิหร่าน Reza Sokhandan
  • ประเทศญี่ปุ่น Jun Mihara
  • ประเทศญี่ปุ่น Hiroshi Yamauchi
  • ประเทศจอร์แดน Mohammad Al-Kalaf
  • ประเทศจอร์แดน Ahmad Al-Roalle
  • ประเทศเกาหลีใต้ Kim Young-ha
  • ประเทศเกาหลีใต้ Yoon Kwang-yeol
  • ประเทศคีร์กีซสถาน Sergei Grishchenko
  • ประเทศมาเลเซีย Mohd Yusri Muhamad
  • ประเทศมาเลเซีย Mohamad Zainal Abidin
  • ประเทศเม็กซิโก Miguel Hernández
  • ประเทศเม็กซิโก Alberto Morín
  • ประเทศโอมาน Abu Bakar Al-Amri
  • ประเทศโอมาน Rashid Al-Ghaithi
  • ประเทศกาตาร์ Saud Al-Maqaleh
  • ประเทศกาตาร์ Taleb Al-Marri
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย Mohammed Al-Abakry
  • ประเทศสิงคโปร์ Ronnie Koh Min Kiat
  • ประเทศศรีลังกา Palitha Hemathunga
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Mohamed Al-Hammadi
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Hasan Al-Mahri
  • ประเทศอุซเบกิสถาน Abdukhamidullo Rasulov
  • ประเทศอุซเบกิสถาน Jakhongir Saidov

ผู้เล่น

แต่ละทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน หรือขั้นต่ำ 18 คน โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน

รอบแบ่งกลุ่ม

กลุ่มเอ

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (H) 3 1 2 0 4 2 +2 5 รอบแพ้คัดออก
2  ไทย 3 1 1 1 3 5 2 4[a]
3  บาห์เรน 3 1 1 1 2 2 0 4[a]
4  อินเดีย 3 1 0 2 4 4 0 3
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ
หมายเหตุ:
  1. คะแนน เฮด-ทู-เฮด: ไทย 3, บาห์เรน 0.
ข้อมูลเพิ่มเติม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, 1–1 ...
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1–1 บาห์เรน
เคาะลีล ประตู 88' (ลูกโทษ) รายงาน อัรรุมัยฮี ประตู 78'
ปิด
ผู้ชม: 33,878 คน
ผู้ตัดสิน: Adham Makhadmeh (จอร์แดน)
ข้อมูลเพิ่มเติม ไทย, 1–4 ...
ไทย 1–4 อินเดีย
ธีรศิลป์ ประตู 33' รายงาน เฉตรี ประตู 27' (ลูกโทษ), 46'
ถาปา ประตู 68'
ลาลเปขลุอา ประตู 80'
ปิด
ผู้ชม: 3,250 คน
ผู้ตัดสิน: Liu Kwok Man (ฮ่องกง)

ข้อมูลเพิ่มเติม บาห์เรน, 0–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 2,720 คน
ผู้ตัดสิน: Chris Beath (ออสเตรเลีย)
ข้อมูลเพิ่มเติม อินเดีย, 0–2 ...
อินเดีย 0–2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
รายงาน ค็อล. มุบาร็อก ประตู 41'
มับคูต ประตู 88'
ปิด
ผู้ชม: 43,206 คน
ผู้ตัดสิน: เซซาร์ อาร์ตูโร ราโมส (เม็กซิโก)

ข้อมูลเพิ่มเติม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, 1–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 17,809 คน
ผู้ตัดสิน: รีวจิ ซาโต (ญี่ปุ่น)
ข้อมูลเพิ่มเติม อินเดีย, 0–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 11,417 คน
ผู้ตัดสิน: Ilgiz Tantashev (อุซเบกิสถาน)

กลุ่มบี

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  จอร์แดน 3 2 1 0 3 0 +3 7 รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย 3 2 0 1 6 3 +3 6
3  ปาเลสไตน์ 3 0 2 1 0 3 3 2
4  ซีเรีย 3 0 1 2 2 5 3 1
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม ออสเตรเลีย, 0–1 ...
ออสเตรเลีย 0–1 จอร์แดน
รายงาน บะนี ยาซีน ประตู 26'
ปิด
ผู้ชม: 4,934 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Kaf (โอมาน)
ข้อมูลเพิ่มเติม ซีเรีย, 0–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 8,471 คน
ผู้ตัดสิน: Ravshan Irmatov (อุซเบกิสถาน)

ข้อมูลเพิ่มเติม จอร์แดน, 2–0 ...
จอร์แดน 2–0 ซีเรีย
อัตตะอ์มะรี ประตู 26'
ค็อฏฏอบ ประตู 43'
รายงาน
ปิด
ผู้ชม: 9,152 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Dong-jin (เกาหลีใต้)
ข้อมูลเพิ่มเติม ปาเลสไตน์, 0–3 ...
ปาเลสไตน์ 0–3 ออสเตรเลีย
รายงาน แม็กคลาเรน ประตู 18'
มาบิล ประตู 20'
จิอันนู ประตู 90'
ปิด

ข้อมูลเพิ่มเติม ออสเตรเลีย, 3–2 ...
ออสเตรเลีย 3–2 ซีเรีย
มาบิล ประตู 41'
ออยโคโนมิดิส ประตู 54'
โรกิช ประตู 90+3'
รายงาน ค็อรบีน ประตู 43'
อัสซูมะฮ์ ประตู 80' (ลูกโทษ)
ปิด
ผู้ชม: 10,492 คน
ผู้ตัดสิน: César Arturo Ramos (เม็กซิโก)
ข้อมูลเพิ่มเติม ปาเลสไตน์, 0–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 20,843 คน
ผู้ตัดสิน: Mohanad Qassim (อิรัก)

กลุ่มซี

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 3 0 0 4 0 +4 9 รอบแพ้คัดออก
2  จีน 3 2 0 1 5 3 +2 6
3  คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4  ฟิลิปปินส์ 3 0 0 3 1 7 6 0
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม จีน, 2–1 ...
จีน 2–1 คีร์กีซสถาน
มาเตียช ประตู 50' (เข้าประตูตัวเอง)
ยฺหวี ต้าเป่า ประตู 78'
รายงาน อิสราอีลอฟ ประตู 42'
ปิด
ผู้ชม: 1,839 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
ข้อมูลเพิ่มเติม เกาหลีใต้, 1–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 3,185 คน
ผู้ตัดสิน: Nawaf Shukralla (บาห์เรน)

ข้อมูลเพิ่มเติม ฟิลิปปินส์, 0–3 ...
ฟิลิปปินส์ 0–3 จีน
รายงาน อู๋ เหล่ย์ ประตู 40', 66'
ยฺหวี ต้าเป่า ประตู 80'
ปิด
ผู้ชม: 16,013 คน
ผู้ตัดสิน: ฮิโรยูกิ คิมูระ (ญี่ปุ่น)
ข้อมูลเพิ่มเติม คีร์กีซสถาน, 0–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 4,893 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Marri (กาตาร์)

ข้อมูลเพิ่มเติม เกาหลีใต้, 2–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 13,579 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)
ข้อมูลเพิ่มเติม คีร์กีซสถาน, 3–1 ...
คีร์กีซสถาน 3–1 ฟิลิปปินส์
ลุคส์ ประตู 24', 51', 77' รายงาน ชเริค ประตู 80'
ปิด

กลุ่มดี

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อิหร่าน 3 2 1 0 7 0 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2  อิรัก 3 2 1 0 6 2 +4 7
3  เวียดนาม 3 1 0 2 4 5 1 3
4  เยเมน 3 0 0 3 0 10 10 0
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม อิหร่าน, 5–0 ...
อิหร่าน 5–0 เยเมน
ทาเรมี ประตู 12', 25'
เดกายาห ประตู 23'
อัซมูน ประตู 53'
ก๊อดดอส ประตู 78'
รายงาน
ปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม อิรัก, 3–2 ...
อิรัก 3–2 เวียดนาม
อาลี ประตู 35'
ทาริก ประตู 60'
อัดนาน ประตู 90'
รายงาน ฟาเอซ อาติยาห์ ประตู 24' (เข้าประตูตัวเอง)
เหงียน กง เฝื่อง ประตู 42'
ปิด
ผู้ชม: 4,779 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)

ข้อมูลเพิ่มเติม เวียดนาม, 0–2 ...
เวียดนาม 0–2 อิหร่าน
รายงาน อัซมูน ประตู 38', 69'
ปิด
ผู้ชม: 10,841 คน
ผู้ตัดสิน: Muhammad Taqi (สิงคโปร์)
ข้อมูลเพิ่มเติม เยเมน, 0–3 ...
เยเมน 0–3 อิรัก
รายงาน อาลี ประตู 11'
ราซาน ประตู 19'
อับบาส ประตู 90+1'
ปิด
ผู้ชม: 9,757 คน
ผู้ตัดสิน: Fu Ming (จีน)

ข้อมูลเพิ่มเติม เวียดนาม, 2–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 8,237 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Kaf (โอมาน)
ข้อมูลเพิ่มเติม อิหร่าน, 0–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 15,038 คน
ผู้ตัดสิน: Ravshan Irmatov (อุซเบกิสถาน)

กลุ่มอี

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  กาตาร์ 3 3 0 0 10 0 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2  ซาอุดีอาระเบีย 3 2 0 1 6 2 +4 6
3  เลบานอน 3 1 0 2 4 5 1 3
4  เกาหลีเหนือ 3 0 0 3 1 14 13 0
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม ซาอุดีอาระเบีย, 4–0 ...
ซาอุดีอาระเบีย 4–0 เกาหลีเหนือ
บาฮ์บรี ประตู 28'
อัล-ฟาติล ประตู 37'
อัล-ดอว์ซารี่ ประตู 70'
อัล-มูวัลลาด ประตู 87'
รายงาน
ปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม กาตาร์, 2–0 ...
กาตาร์ 2–0 เลบานอน
อัล ราวี ประตู 65'
อัลโมซ อาลี ประตู 79'
รายงาน
ปิด
ผู้ชม: 7,847 คน
ผู้ตัดสิน: Ma Ning (จีน)

ข้อมูลเพิ่มเติม เลบานอน, 0–2 ...
เลบานอน 0–2 ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน อัล-มูวัลลาด ประตู 12'
อัล-โมกาห์วี ประตู 67'
ปิด
ผู้ชม: 13,792 คน
ผู้ตัดสิน: Ali Sabah (อิรัก)
ข้อมูลเพิ่มเติม เกาหลีเหนือ, 0–6 ...
เกาหลีเหนือ 0–6 กาตาร์
รายงาน อัลโมซ อาลี ประตู 9', 11', 55', 60'
คูกี ประตู 43'
ฮัสซัน ประตู 68'
ปิด
ผู้ชม: 452 คน
ผู้ตัดสิน: Hettikamkanamge Perera (ศรีลังกา)

ข้อมูลเพิ่มเติม ซาอุดีอาระเบีย, 0–2 ...
ซาอุดีอาระเบีย 0–2 กาตาร์
รายงาน อัลโมซ อาลี ประตู 45+1', 80'
ปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม เลบานอน, 4–1 ...
เลบานอน 4–1 เกาหลีเหนือ
มีแชล ประตู 27'
เอล-เฮลเว ประตู 65', 90+8'
มาตุ๊ก ประตู 80' (ลูกโทษ)
รายงาน พัก กวาง-รยอง ประตู 9'
ปิด
ผู้ชม: 4,332 คน
ผู้ตัดสิน: Chris Beath (ออสเตรเลีย)

กลุ่มเอฟ

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, เล่น ...
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 6 3 +3 9 รอบแพ้คัดออก
2  อุซเบกิสถาน 3 2 0 1 7 3 +4 6
3  โอมาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4  เติร์กเมนิสถาน 3 0 0 3 3 10 7 0
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ข้อมูลเพิ่มเติม ญี่ปุ่น, 3–2 ...
ญี่ปุ่น 3–2 เติร์กเมนิสถาน
โอซาโกะ ประตู 56', 60'
โดอัน ประตู 71'
รายงาน อามานอฟ ประตู 26'
อาตาเยฟ ประตู 79' (ลูกโทษ)
ปิด
ผู้ชม: 5,725 คน
ผู้ตัดสิน: Alireza Faghani (อิหร่าน)
ข้อมูลเพิ่มเติม อุซเบกิสถาน, 2–1 ...
อุซเบกิสถาน 2–1 โอมาน
อาห์เมดอฟ ประตู 34'
โชมูโรดอฟ ประตู 85'
รายงาน อัล กัสซานี ประตู 72'
ปิด
ผู้ชม: 9,424 คน
ผู้ตัดสิน: Ko Hyung-jin (เกาหลีใต้)

ข้อมูลเพิ่มเติม โอมาน, 0–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 12,110 คน
ผู้ตัดสิน: Mohd Amirul Izwan Yaacob (มาเลเซีย)
ข้อมูลเพิ่มเติม เติร์กเมนิสถาน, 0–4 ...
เติร์กเมนิสถาน 0–4 อุซเบกิสถาน
รายงาน ซิดิคอฟ ประตู 17'
โชมูโรดอฟ ประตู 24', 42'
มาชาริปอฟ ประตู 40'
ปิด

ข้อมูลเพิ่มเติม โอมาน, 3–1 ...
โอมาน 3–1 เติร์กเมนิสถาน
คาโน ประตู 20'
อัล กัสซานี ประตู 84'
อัล-มูซาลามี่ ประตู 90+3'
รายงาน อันนาดูร์ดืยเยฟ ประตู 41'
ปิด
ข้อมูลเพิ่มเติม ญี่ปุ่น, 2–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 7,005 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

การจัดอันดับที่ 3

ข้อมูลเพิ่มเติม อันดับ, กลุ่ม ...
อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 เอ  บาห์เรน 3 1 1 1 2 2 0 4 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2 ซี  คีร์กีซสถาน 3 1 0 2 4 4 0 3
3 เอฟ  โอมาน 3 1 0 2 4 4 0 3
4 ดี  เวียดนาม 3 1 0 2 4 5 1 3
5 อี  เลบานอน 3 1 0 2 4 5 1 3
6 บี  ซีเรีย 3 0 2 1 2 5 3 2
ปิด
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2562. แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ประตูได้เสีย; 3) ประตูได้; 4) คะแนนวินัย; 5) จับฉลากเข้ารอบ[4]

รอบแพ้คัดออก

สรุป
มุมมอง
 
รอบ 16 ทีมรอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
              
 
20 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
 
 ไทย1
 
24 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
 จีน2
 
 จีน0
 
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
 อิหร่าน3
 
 อิหร่าน2
 
28 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
 โอมาน0
 
 อิหร่าน0
 
20 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
 ญี่ปุ่น3
 
 จอร์แดน1 (2)
 
24 มกราคม – สนามกีฬาอาลมักตูม
 
 เวียดนาม (ลูกโทษ)1 (4)
 
 เวียดนาม0
 
21 มกราคม – สนามกีฬาชาร์จาห์
 
 ญี่ปุ่น1
 
 ญี่ปุ่น1
 
1 กุมภาพันธ์ – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
 ซาอุดีอาระเบีย0
 
 ญี่ปุ่น1
 
22 มกราคม – สนามกีฬามักตูม รอชิด อาล มักตูม
 
 กาตาร์3
 
 เกาหลีใต้2
 
25 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
 บาห์เรน1
 
 เกาหลีใต้0
 
22 มกราคม – สนามกีฬาอัลนะฮ์ยาน
 
 กาตาร์1
 
 กาตาร์1
 
29 มกราคม – สนามกีฬามุฮัมมัด บิน ซายิด
 
 อิรัก0
 
 กาตาร์4
 
21 มกราคม – สนามกีฬาซายิดสปอตส์ซิตี
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์0
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์3
 
25 มกราคม – สนามกีฬาฮัซซาอ์ บิน ซายิด
 
 คีร์กีซสถาน2
 
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์1
 
21 มกราคม – สนามกีฬาเคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด
 
 ออสเตรเลีย0
 
 ออสเตรเลีย0 (4)
 
 
 อุซเบกิสถาน (ลูกโทษ)0 (2)
 

รอบ 16 ทีม

ข้อมูลเพิ่มเติม จอร์แดน, 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) ...
ปิด
ผู้ชม: 14,205 คน
ผู้ตัดสิน: Alireza Faghani (อิหร่าน)

ข้อมูลเพิ่มเติม ไทย, 1–2 ...
ปิด
ผู้ชม: 8,026 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

ข้อมูลเพิ่มเติม อิหร่าน, 2–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 31,945 คน
ผู้ตัดสิน: César Arturo Ramos (เม็กซิโก)

ข้อมูลเพิ่มเติม ญี่ปุ่น, 1–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 6,832 คน
ผู้ตัดสิน: Ravshan Irmatov (อุซเบกิสถาน)

ข้อมูลเพิ่มเติม ออสเตรเลีย, 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) ...
ออสเตรเลีย 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) อุซเบกิสถาน
รายงาน
ลูกโทษ
มิลลิกัน Penalty scored
เบอิช Missed
ครูส Penalty scored
จิอันนู Penalty scored
เล็กกี Penalty scored
4–2 Penalty scored ชูคูรอฟ
Missed ตูฮ์ตาโฮจาเอฟ
Penalty scored อะลีบาเอฟ
Missed บิคมาเอฟ
ปิด
ผู้ชม: 6,809 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)

ข้อมูลเพิ่มเติม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, 3–2 (ต่อเวลาพิเศษ) ...
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3–2 (ต่อเวลาพิเศษ) คีร์กีซสถาน
อิสมาอีล ประตู 14'
มับคูต ประตู 64'
เคาะลีล ประตู 103' (ลูกโทษ)
รายงาน มูร์ซาเอฟ ประตู 26'
รุสตามอฟ ประตู 90+1'
ปิด
ผู้ชม: 17,784 คน
ผู้ตัดสิน: Fu Ming (จีน)

ข้อมูลเพิ่มเติม เกาหลีใต้, 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) ...
ปิด
ผู้ชม: 7,658 คน
ผู้ตัดสิน: Ryuji Sato (ญี่ปุ่น)

ข้อมูลเพิ่มเติม กาตาร์, 1–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 14,701 คน
ผู้ตัดสิน: Muhammad Taqi (สิงคโปร์)

รอบ 8 ทีม

ข้อมูลเพิ่มเติม เวียดนาม, 0–1 ...
ปิด
ผู้ชม: 8,954 คน
ผู้ตัดสิน: Mohammed Abdulla Hassan Mohamed (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)

ข้อมูลเพิ่มเติม จีน, 0–3 ...
จีน 0–3 อิหร่าน
รายงาน ทอเรมี ประตู 18'
ออซมูน ประตู 31'
แอนซอรีแฟร์ด ประตู 90+1'
ปิด
ผู้ชม: 19,578 คน
ผู้ตัดสิน: Abdulrahman Al-Jassim (กาตาร์)

จีน 0-3 อิหร่าน


ข้อมูลเพิ่มเติม เกาหลีใต้, 0–1 ...
ปิด

ข้อมูลเพิ่มเติม สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์, 1–0 ...
ปิด
ผู้ชม: 25,053 คน
ผู้ตัดสิน: Ryuji Sato (ญี่ปุ่น)

รอบรองชนะเลิศ

ข้อมูลเพิ่มเติม อิหร่าน, 0–3 ...
ปิด
ผู้ชม: 23,262 คน
ผู้ตัดสิน: Chris Beath (ออสเตรเลีย)

ข้อมูลเพิ่มเติม กาตาร์, 4–0 ...
กาตาร์ 4–0 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
คูคี ประตู 22'
อะลี ประตู 37'
อัลฮัยดูส ประตู 80'
อิสมาอีล ประตู 90+3'
รายงาน
ปิด
ผู้ชม: 38,646 คน
ผู้ตัดสิน: César Arturo Ramos (เม็กซิโก)

รอบชิงชนะเลิศ

สถิติ

สรุป
มุมมอง

ผู้ทำประตูสูงสุด

การแข่งขันเอเชียนคัพในครั้งนี้มีการทำประตูได้ทั้งหมด 96 ประตู โดยเป็นประตูที่ทำได้ใน 36 นัด สำหรับค่าเฉลี่ยในการทำประตูในแต่ละนัดคือ 2.67 ประตูต่อนัด.

9 ประตู
  • ประเทศกาตาร์ อัลโมซ อาลี


4 ประตู


3 ประตู
  • ประเทศอิหร่าน ซาร์ดาร์ อัซมูน
  • ประเทศคีร์กีซสถาน วิตาลี ลุคซ์


2 ประตู
  • ประเทศออสเตรเลีย อาเวอร์ มาบิล
  • ประเทศจีน หวู่ เล่ย
  • ประเทศจีน หยู ต้าเป่า
  • ประเทศอินเดีย สุนิล เชตรี
  • ประเทศอิหร่าน เมห์ดี ทาเรมี
  • ประเทศอิรัก โมฮาเหน็ด อาลี
  • ประเทศญี่ปุ่น ยูยะ โอซาโกะ
  • ประเทศเลบานอน ฮิลาล เอล-เฮลเว
  • ประเทศโอมาน มูเซน อัล กัสซานี
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย ฟาฮัด อัล-มูวัลลาด
  • ประเทศเกาหลีใต้ ฮวาง อุย-โจ
  • ประเทศเกาหลีใต้ คิม มิน-แจ
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาลี มับคูต


1 ประตู
  • ประเทศออสเตรเลีย อพอสโตลอส จิอันนู
  • ประเทศออสเตรเลีย คริสโตเฟอร์ ออยโคโนมิดิส
  • ประเทศออสเตรเลีย เจมี่ แม็คคลาเรน
  • ประเทศออสเตรเลีย ทอม โรกิช
  • ประเทศบาห์เรน จามาล ราชิด
  • ประเทศบาห์เรน โมฮาเหม็ด อัล โรไมฮี
  • ประเทศอินเดีย เจเจ ลัลเพคลัว
  • ประเทศอินเดีย อนิรุธ ฐาปา
  • ประเทศอิหร่าน อัสคัน เดกายาห
  • ประเทศอิหร่าน ซามาน ก๊อดดอส
  • ประเทศอิรัก อลา อับบาส
  • ประเทศอิรัก อาลี อัดนาน
  • ประเทศอิรัก บาสฮาร์ ราซาน
  • ประเทศอิรัก ฮูมัม ทาริก
  • ประเทศญี่ปุ่น ริตสึ โดอัน
  • ประเทศญี่ปุ่น เก็งกิ ฮารากูชิ
  • ประเทศญี่ปุ่น โยชิโนริ มูโตะ
  • ประเทศญี่ปุ่นที.มิโนะ
  • ประเทศญี่ปุ่น สึคาสะ ชิโอตานิ
  • ประเทศจอร์แดน มูซา อัล-ทามารี
  • ประเทศจอร์แดน ทาเร็ก คัตตาบ
  • ประเทศจอร์แดน อนาส บานี่ ยาซีน
  • ประเทศคีร์กีซสถาน อัคห์ลิดิน อิสราอิลอฟ
  • ประเทศเลบานอน ฮัสซัน มาตุ๊ก
  • ประเทศเลบานอน เฟลิกซ์ มีแชล
  • ประเทศเกาหลีเหนือ พัก กวาง-รยอง
  • ประเทศโอมาน โมฮัมเหม็ด อัล-มูซาลามี่
  • ประเทศโอมาน อาห์เหม็ด คาโน
  • ประเทศฟิลิปปินส์ สเตฟาน ชร็อค
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาเลม อัล-ดอว์ซารี่
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย โมฮัมเหม็ด อัล-ฟาติล
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย ฮูเซน อัล-โมกาห์วี
  • ประเทศซาอุดีอาระเบีย ฮัททาน บาฮ์บรี
  • ประเทศกาตาร์ อับเดลคาริม ฮัสซัน
  • ประเทศกาตาร์ บัสซาม ฮิชัม อัล ราวี
  • ประเทศกาตาร์ บูอาเล็ม คูกี
  • ประเทศซีเรีย โอมาร์ อัล โซมาห์
  • ประเทศซีเรีย โอมาร์ คริบิน
  • ประเทศไทย ชนาธิป สรงกระสินธ์
  • ประเทศไทย ธีรศิลป์ แดงดา
  • ประเทศไทย ฐิติพันธ์ พ่วงจันทร์
  • ประเทศไทย ศุภชัย ใจเด็ด
  • ประเทศเติร์กเมนิสถาน อาร์สลันมีรัต อามานอฟ
  • ประเทศเติร์กเมนิสถาน อัลตืยมืยรัต อันนาดูร์ดืยเยฟ
  • ประเทศเติร์กเมนิสถาน อาห์เมต อาตาเยฟ
  • ประเทศอุซเบกิสถาน โอดิล อาห์เมดอฟ
  • ประเทศอุซเบกิสถาน จาโลลิดดิน มาชาริปอฟ
  • ประเทศอุซเบกิสถาน ยาโวคีร์ ซิดิคอฟ
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อาห์เหม็ด คาลิล
  • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คาลฟาน มูบารัค
  • ประเทศเวียดนาม เหงียน กง เฝื่อง
  • ประเทศเวียดนาม เหวียน กวาง ไฮ
  • ประเทศเวียดนาม เก ง็อค ไฮ


การทำเข้าประตูตัวเอง
  • ประเทศอิรัก อาลี ฟาเอซ อาติยาห์ (ในนัดที่พบกับ เวียดนาม)
  • ประเทศคีร์กีซสถาน ปาเวล มาติอัช (ในนัดที่พบกับ จีน)

การตลาด

สัญลักษณ์

ตุ๊กตาสัญลักษณ์

ถ้วยรางวัล

ถ้วยรางวัลแบบใหม่ออกแบบโดยโทมัส ไลต์ จากประเทศอังกฤษ ถ้วยทำด้วยเงินมีความสูง 72 เซนติเมตร กว้าง 42 เซนติเมตร หนัก 15 กิโลกรัม โดยออกแบบถ้วยเป็นดอกบัว 5 ชั้น ซึ่งแสดงถึงห้าภูมิภาคของเอเอฟซี ได้แก่ เอเชียตะวันตก (ดับเบิลยูเอเอฟเอฟ), เอเชียกลาง (ซีเอเอฟเอ), เอเชียใต้ (เอสเอเอฟเอฟ), เอเชียตะวันออก (อีเอเอฟเอฟ) และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (เอเอฟเอฟ) ซึ่งดอกบัวมีความหมายถึงสันติสุขและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และฐานด้านล่างถ้วยรางวัลจารึกแชมป์เอเชียนคัพตั้งแต่ปี 1956 จนถึงครั้งล่าสุดเมื่อปี 2015

ลูกฟุตบอล

Thumb
มอลเทน อเซนเทค

ลูกฟุตบอลอย่างเป็นทางการที่ใช้ในการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 คือ "มอลเทน อเซนเทค" ผลิตและออกแบบโดย บริษัท มอลเทน คอร์ปอเรชั่น

เงินรางวัล

เงินรางวัลสำหรับการแข่งขันเอเชียนคัพ 2019 รวมทั้งสิ้น 14,800,000 เหรียญสหรัฐ แบ่งออกเป็น

การถ่ายทอดสด

ข้อมูลเพิ่มเติม อาณาเขต, ช่องที่ทำการถ่ายทอดสด ...
ปิด

ปัญหา

ความขัดแย้งกับประเทศกาตาร์

ตั้งแต่วันที่ 5 มิถุนายน 2017 หลังจากประเทศกาตาร์ถูกตัดความสัมพันธ์ทางการทูตโดยประเทศซาอุดีอาระเบีย และยังรวมถึงประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ทำให้ประเทศกาตาร์ถูกตัดการติดต่อระหว่างพรมแดนทางบก ทางทะเล และทางอากาศ และห้ามประชาชนกาตาร์เข้ามาในประเทศ แต่ในภายหลังรัฐบาลอนุญาตให้ชาวกาตาร์เข้ามาในประเทศได้ แต่ยังไม่ชัดเจนว่าประชาชนที่เดินทางจากกาตาร์จะได้รับอนุญาตให้เข้าประเทศได้หรือไม่

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Loading related searches...

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.