คำถามยอดนิยม
ไทมไลน์
แชท
มุมมอง
พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Remove ads
บทความนี้เป็นรายพระนามพระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งราชวงศ์จักรี
รายพระนามพระราชโอรสและพระราชธิดา
สรุป
มุมมอง
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระภรรยาเจ้า 3 พระองค์ และพระสนม 56 คน รวม 59 พระองค์/คน
มีพระราชโอรส 39 พระองค์ พระราชธิดา 43 พระองค์ และตก 2 พระองค์ รวม 84 พระองค์ ได้แก่

แถวหลัง: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรไทยเทพกัญญา, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากนกวรรณเลขา, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวาณีรัตนกัญญา, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุษบันบัวผัน, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามัณยาภาธร, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอรุณวดี และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนงค์นพคุณ
แถวกลาง: สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีนาคสวาดิ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสมรรัตนศิริเชฐ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยา และสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
แถวหน้า: พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประไพศรีสอาด, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าพวงสร้อยสอางค์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเสาวภาคย์พรรณ, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประสานศรีใส และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าแขไขดวง
ยังทรงพระชนม์
Remove ads
รายพระนามพระราชนัดดา
สรุป
มุมมอง
ราชสกุลนพวงศ์
ราชสกุลนพวงศ์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส มีหม่อม 6 คน ได้แก่
- หม่อมช้อย
- หม่อมราชวงศ์เสาวรส (ราชสกุลเดิม ปาลกะวงศ์)
- หม่อมสวน (สกุลเดิม ศรีเพ็ญ)
- หม่อมกลัด (ราชสกุลเดิม จาตุรงคกุล)
- หม่อมหุ่น
- หม่อมเนือง (ราชสกุลเดิม ณ นคร)
มีพระโอรส 2 พระองค์ กับ 14 องค์ และพระธิดา 10 องค์ รวม 26 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลสุประดิษฐ์
ราชสกุลสุประดิษฐ์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร มีหม่อม 3 คน ได้แก่
- หม่อมจิ๋ม
- หม่อมบาง
- หม่อมแช่ม
มีพระโอรส 5 องค์ และพระธิดา 1 พระองค์ กับ 8 องค์ รวม 14 พระองค์/องค์ ได้แก่
โอรสในหม่อมยิ่ง
หม่อมยิ่ง มีสวามี 1 คน คือ
- โต
มีโอรส 1 คน คือ
พระราชโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าทักษิณชา นราธิราชบุตรี มีพระสวามี 1 พระองค์ คือ
มีพระราชโอรส 1 พระองค์ คือ
พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระภรรยาเจ้า 9 พระองค์ และพระสนม 144 คน รวม 153 พระองค์/คน ได้แก่
มีพระราชโอรส 32 พระองค์ พระราชธิดา 44 พระองค์ และตก 21 พระองค์ รวม 97 พระองค์ ได้แก่
ราชสกุลกฤดากร
ราชสกุลกฤดากร ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ มีหม่อม 3 คน ได้แก่
- หม่อมสุภาพ (สกุลเดิม สังขทัย)
- หม่อมแช่ม
- หม่อมเจิม
มีพระโอรส 2 พระองค์ กับ 12 องค์ และพระธิดา 6 องค์ รวม 20 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลคัคณางค์
ราชสกุลคัคณางค์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร มีหม่อม 2 คน คือ
- หม่อมสุ่น คัคณางค์ ณ อยุธยา
- หม่อมสุมิตรา คัคณางค์ ณ อยุธยา
มีพระโอรส 3 องค์ และพระธิดา 1 พระองค์ กับ 2 องค์ รวม 6 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลศุขสวัสดิ์
ราชสกุลศุขสวัสดิ์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช มีหม่อม 11 คน ได้แก่
- หม่อมขาบ
- หม่อมแช่ม
- หม่อมสุ่น
- หม่อมนวล
- หม่อมราชวงศ์เพี้ยน (ราชสกุลเดิม คเนจร)
- หม่อมชุ่ม
- หม่อมเขียน
- หม่อมเอียด
- หม่อมเปล่ง
- หม่อมเจริญ
- หม่อมตี่
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 22 องค์ พระธิดา 1 พระองค์ กับ 12 องค์ และไม่มีข้อมูล 1 องค์ รวม 37 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลทวีวงศ์
ราชสกุลทวีวงศ์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ มีหม่อม 8 คน ได้แก่
- หม่อมทองคำ
- หม่อมสุ่น
- หม่อมแส
- หม่อมเล็ก
- หม่อมผึ่ง
- หม่อมอันเส็ง
- หม่อมหรุ่ม
- หม่อมองุ่น
มีพระโอรส 6 องค์ และพระธิดา 8 องค์ รวม 14 องค์ ได้แก่
ราชสกุลทองใหญ่
ราชสกุลทองใหญ่ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม มีหม่อม 9 คน ได้แก่
- หม่อมสุวรรณ (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมพริ้ง (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมแจ่ม (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมจันทร์ (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมนวม (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมเปลี่ยน
- หม่อมทองสุก หรือศุข (สกุลเดิม สุริยวงศ์)
- หม่อมเติม (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมแก้ว (สกุลเดิม นาครทรรพ)
มีพระโอรส 11 องค์ และพระธิดา 15 องค์ รวม 26 องค์ ได้แก่
ราชสกุลเกษมสันต์
ราชสกุลเกษมสันต์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ มีพระชายา 1 องค์ และหม่อม 14 คน รวม 15 องค์/คน ได้แก่
- หม่อมเจ้าแฉ่ง (ราชสกุลเดิม นิลรัตน์)
- หม่อมหลวงแย้ม (ราชสกุลเดิม อสุนี)
- หม่อมสุทธิ
- หม่อมนิล
- หม่อมเจียม (สกุลเดิม คชเสนี)
- หม่อมมาลัย
- หม่อมราชวงศ์เป้า (ราชกุลเดิม อสุนี)
- หม่อมราชวงศ์ละม้าย (ราชสกุลเดิม สุริยกุล)
- หม่อมนวล
- หม่อมทองสุก
- หม่อมอั๋น
- หม่อมห่วง (ราชสกุลเดิม ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา)
- หม่อมปลื้ม
- หม่อมราชวงศ์นวลจันทร์ (ราชสกุลเดิม อิศรเสนา)
- หม่อมเพียร (สกุลเดิม ดิษฐชัย)
มีพระโอรส 39 องค์ พระธิดา 22 องค์ และไม่มีข้อมูล 3 องค์ รวม 64 องค์ ได้แก่
ราชสกุลกมลาศน์
ราชสกุลกมลาศน์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร มีหม่อม 3 คน ได้แก่
- หม่อมวาศน์ (สกุลเดิม คชเสนี)
- หม่อมส้มจีน
- หม่อมไป๋
มีพระโอรส 14 องค์ และพระธิดา 13 องค์ รวม 27 องค์ ได้แก่
ราชสกุลจักรพันธุ์
ราชสกุลจักรพันธุ์ ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ มีหม่อม 9 คน ได้แก่
- หม่อมราชวงศ์สว่าง จักรพันธุ์ (ราชสกุลเดิม ศิริวงศ์)
- หม่อมทับทิม (สกุลเดิม ณ มหาชัย)
- หม่อมจีบ
- หม่อมเอม
- หม่อมพลัด
- หม่อมเลื่อม
- หม่อมเผื่อน
- หม่อมหลวงผาด (ราชสกุลเดิม ปาลกะวงศ์)
- หม่อมราชวงศ์ปุ้ย (ราชสกุลเดิม ไพฑูรย์)
มีพระโอรส 7 พระองค์ พระธิดา 9 พระองค์ และไม่มีข้อมูล 1 พระองค์ รวม 17 พระองค์ ได้แก่
พระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุณากรรณอนันตนรไชย มีพระโอรส 1 องค์ คือ
ราชสกุลเกษมศรี
ราชสกุลเกษมศรี ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงศ์ประวัติ มีพระชายา 1 องค์ และหม่อม 9 คน รวม 10 องค์/คน ได้แก่
- หม่อมเจ้าประสานศัพท์ (ราชสกุลเดิม สิงหรา)
- หม่อมเพิ่ม (สกุลเดิม สโรบล)
- หม่อมพลัด
- หม่อมละม้าย (สกุลเดิม ปาณิกบุตร)
- หม่อมเป้า
- หม่อมสอน (สกุลเดิม พวงนาค)
- หม่อมแช่ม
- หม่อมเชย
- หม่อมเชื้อ
- หม่อมแหวน (สกุลเดิม ปาณิกบุตร)
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 17 องค์ และพระธิดา 12 องค์ รวม 30 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลศรีธวัช
ราชสกุลศรีธวัช ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ มีหม่อม 3 คน ได้แก่
- หม่อมอุ่ม (สกุลเดิม ทิพย์วัฒน์)
- หม่อมเสงี่ยม (ราชสกุลเดิม ณ นคร)
- หม่อมเผื่อน
มีพระโอรส 5 องค์ พระธิดา 2 องค์ และไม่มีข้อมูล 6 องค์ รวม 13 องค์ ได้แก่
ราชสกุลทองแถม
ราชสกุลทองแถม ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ มีพระชายา 2 องค์ และหม่อม 8 คน รวม 10 องค์/คน ได้แก่
- หม่อมเจ้าเม้า (ราชสกุลเดิม รองทรง)
- หม่อมเจ้าสุวรรณ (ราชสกุลเดิม นิลรัตน)
- หม่อมราชวงศ์เกษรสุมาลี (ราชสกุลเดิม อิศรางกูร)
- หม่อมราชวงศ์นารีนพรัตน์ (ราชสกุลเดิม อิศรางกูร)
- หม่อมตาดใหญ่ (สกุลเดิม โรจนวิภาต)
- หม่อมเมือง (สกุลเดิม พลนิเทศ)
- หม่อมทับทิม
- หม่อมตาดเล็ก (สกุลเดิม นาครทรรพ)
- หม่อมเศรษฐี
- หม่อมประเทียบ (สกุลเดิม พุ่มพวงเพชร)
มีพระโอรส 7 องค์ และพระธิดา 8 องค์ รวม 15 องค์ ได้แก่
ราชสกุลชุมพล
ราชสกุลชุมพล ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ มีหม่อม 6 คน ได้แก่
- หม่อมอำภา (สกุลเดิม ธรรมสโรช)
- หม่อมเจริญ (สกุลเดิม ธรรมสโรช)
- หม่อมเจียงคำ (สกุลเดิม บุตโรบล)
- หม่อมบุญยืน (สกุลเดิม บุญรมย์)
- หม่อมคำเมียง
- หม่อมปุก
มีพระโอรส 11 องค์ และพระธิดา 3 องค์ รวม 14 องค์ ได้แก่
ราชสกุลเทวกุล
ราชสกุลเทวกุล ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ มีหม่อม 7 คน ได้แก่
- หม่อมใหญ่ เทวกุล ณ อยุธยา (สกุลเดิม สุจริตกุล)
- หม่อมลม้าย (สกุลเดิม ชูโต)
- หม่อมเหมือน
- หม่อมปุ่น
- หม่อมอบ (สกุลเดิม อมาตยกุล)
- หม่อมพุก (สกุลเดิม จันทรเสน)
- หม่อมจันทร์
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 24 องค์ และพระธิดา 23 องค์ รวม 48 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลภาณุพันธุ์
ราชสกุลภาณุพันธุ์ ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช มีหม่อม 7 คน ได้แก่
- หม่อมแม้น ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม บุนนาค)
- หม่อมเลี่ยม (สกุลเดิม ศุภสุทธิ์)
- หม่อมสุ่น (สกุลเดิม ปักษีวงศา)
- หม่อมลับ (สกุลเดิม จาติกรัตน์)
- หม่อมเล็ก ภาณุพันธุ์ ณ อยุธยา (สกุลเดิม ยงใจยุทธ)
- หม่อมเยี่ยม (สกุลเดิม ณ บางช้าง)
- หม่อมย้อย (ราชสกุลเดิม โกมารกุล ณ นคร)
มีพระโอรส 8 พระองค์ กับ 1 องค์ และพระธิดา 3 พระองค์ กับ 3 องค์ รวม 15 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลสวัสดิกุล
ราชสกุลสวัสดิกุล ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ มีพระชายา 1 พระองค์ กับ 1 องค์ และหม่อม 2 คน รวม 4 พระองค์/องค์/คน ได้แก่
- เจ้าจอมพระองค์เจ้ากำโพชราชสุดาดวง
- หม่อมเจ้าจำรัส (ราชสกุลเดิม นิลรัตน์)
- หม่อมตลับ
- หม่อมเพิ่ม
มีพระโอรส 2 องค์ และพระธิดา 1 องค์ รวม 3 องค์ ได้แก่
พระราชธิดาในสมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี
สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี มีพระราชสวามี 1 พระองค์ คือ
มีพระราชธิดา 1 พระองค์ และสิ้นพระชนม์ในพระครรภ์ 1 พระองค์ รวม 2 พระองค์ ได้แก่
ราชสกุลจันทรทัต
ราชสกุลจันทรทัต ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา มีหม่อม 2 คน ได้แก่
- หม่อมราชวงศ์แข (ราชสกุลเดิม กุญชร)
- หม่อมอาบ
มีพระโอรส 9 องค์ และพระธิดา 4 องค์ รวม 13 องค์ ได้แก่
พระราชโอรสและพระราชธิดาในสมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี มีพระราชสวามี 1 พระองค์ คือ
มีพระราชโอรส 1 พระองค์ พระราชธิดา 1 พระองค์ และตก 1 พระองค์ รวม 3 พระองค์ ได้แก่
ราชสกุลชยางกูร
ราชสกุลชยางกูร ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงษาดิศรมหิป มีหม่อม 7 คน ได้แก่
- หม่อมเอี่ยม
- หม่อมบัว
- หม่อมพร้อม
- หม่อมละม้าย
- หม่อมถม
- หม่อมศรี (สกุลเดิม บุญยมาลิก)
- หม่อมแหวนศุลี (สกุลเดิม บุญยมาลิก)
มีพระโอรส 15 องค์ และพระธิดา 8 องค์ รวม 23 องค์ ได้แก่
ราชสกุลวรวรรณ
ราชสกุลวรวรรณ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ มีหม่อม 13 คน ได้แก่
- หม่อมต่วนใหญ่
- หม่อมผัน วรวรรณ ณ อยุธยา (สกุลเดิม สวัสดิ์-ชูโต)
- หม่อมเจียม
- หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ (ราชสกุลเดิม มนตรีกุล)
- หม่อมอินทร์
- หม่อมบุญ
- หม่อมหลวงตาด (ราชสกุลเดิม มนตรีกุล)
- หม่อมแช่ม (สกุลเดิม วงศาโรจน์)
- หม่อมแถม
- หม่อมสุ่น (สกุลเดิม เพ็ญกุล)
- หม่อมเชื้อเล็ก
- หม่อมพร้อม
- หม่อมแสร์
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 20 องค์ และพระธิดา 2 พระองค์ กับ 12 องค์ รวม 35 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลดิศกุล
ราชสกุลดิศกุล ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีหม่อม 11 คน ได้แก่
- หม่อมเฉื่อย (สกุลเดิม ยมาภัย)
- หม่อมนวม (สกุลเดิม โรจนดิศ)
- หม่อมลำดวน (สกุลเดิม วสันตสิงห์)
- หม่อมแสง (สกุลเดิม ศตะรัตน์)
- หม่อมเจิม (สกุลเดิม สนธิรัตน์)
- หม่อมอบ (สกุลเดิม สุขไพบูลย์)
- หม่อมหลวงใหญ่ (เดิม หม่อมหลวงลำดวน ราชสกุล อิศรเสนา)
- หม่อมหยาด (สกุลเดิม กลัมพากร)
- หม่อมเป๋า
- หม่อมเยื้อน
- หม่อมเพิ่ม (สกุลเดิม สุขไพบูลย์)
มีพระโอรส 14 องค์ และพระธิดา 23 องค์ รวม 37 องค์ ได้แก่
ราชสกุลโศภางค์
ราชสกุลโศภางค์ ต้นราชสกุล คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีเสาวภางค์ มีหม่อม 1 คน คือ
- หม่อมสาย (สกุลเดิม สาตราภัย)
มีพระโอรส 2 องค์ และพระธิดา 1 องค์ รวม 3 องค์ ได้แก่
พระราชโอรสและพระราชธิดาในสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า มีพระราชสวามี 1 พระองค์ คือ
มีพระราชโอรส 4 พระองค์ พระราชธิดา 4 พระองค์ และตก 2 พระองค์ รวม 10 พระองค์ ได้แก่
ราชสกุลโสณกุล
ราชสกุลโสณกุล ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา มีหม่อม 1 คน คือ
- หม่อมเอม (สกุลเดิม กุณฑลจินดา)
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 6 องค์ และพระธิดา 6 องค์ รวม 13 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลจิตรพงศ์
ราชสกุลจิตรพงศ์ ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ มีหม่อม 3 คน คือ
- หม่อมราชวงศ์ปลื้ม (ราชสกุลเดิม ศิริวงศ์)
- หม่อมมาลัย (สกุลเดิม เศวตามร์)
- หม่อมราชวงศ์โต จิตรพงศ์ (ราชสกุลเดิม งอนรถ)
มีพระโอรส 5 องค์ และพระธิดา 4 องค์ รวม 9 องค์ ได้แก่
ราชสกุลวัฒนวงศ์
ราชสกุลวัฒนวงศ์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์ มีหม่อม 3 คน คือ
- หม่อมเชื้อสาย (สกุลเดิม บุนนาค)
- หม่อมนุ่ม (สกุลเดิม บุนนาค)
- หม่อมชุ่ม
มีพระโอรส 4 องค์ และพระธิดา 3 องค์ รวม 7 องค์ ได้แก่
พระราชโอรสและพระราชธิดาในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง มีพระราชสวามี 1 พระองค์ คือ
มีพระราชโอรส 7 พระองค์ พระราชธิดา 2 พระองค์ และตก 7 พระองค์ รวม 16 พระองค์ ได้แก่
ราชสกุลสวัสดิวัตน์
ราชสกุลสวัสดิวัตน์ ต้นราชสกุล คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ มีพระชายา 1 พระองค์ กับ 1 องค์ และหม่อม 8 คน รวม 10 พระองค์/องค์/คน ได้แก่
- พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภาพรรณี (เดิม หม่อมเจ้าอาภาพรรณี ราชสกุล คัคณางค์)
- หม่อมเจ้าฉวีวิลัย (ราชสกุลเดิม คัคณางค์)
- หม่อมราชวงศ์เสงี่ยม สวัสดิวัตน์ (ราชสกุลเดิม สนิทวงศ์)
- หม่อมลมุล (สกุลเดิม พิศลยบุตร)
- หม่อมหุ่น (สกุลเดิม พิศลยบุตร)
- หม่อมศรี (สกุลเดิม พิศลยบุตร)
- หม่อมสุดใจ
- หม่อมเร่ (สกุลเดิม บุนนาค)
- หม่อมลัภ (สกุลเดิม บุนนาค)
- หม่อมพงษ์ (สกุลเดิม บุณยรัตพันธุ์)
มีพระโอรส 23 องค์ และพระธิดา 1 พระองค์ กับ 24 องค์ รวม 48 พระองค์/องค์ ได้แก่
ราชสกุลไชยันต์
ราชสกุลไชยันต์ ต้นราชสกุล คือพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย มีพระชายา 1 องค์ และหม่อม 4 คน รวม 5 องค์/คน ได้แก่
- หม่อมเจ้าสุภางค์ภักตร์ (ราชสกุลเดิม จรูญโรจน์)
- หม่อมน้อย (สกุลเดิม ยุกตะเสวี)
- หม่อมกลีบ (สกุลเดิม ฌูกะวิโรจน์)
- หม่อมเฮียะ (สกุลเดิม ยุกตะเสวี)
- หม่อมส้วน (สกุลเดิม ยุกตะเสวี)
มีพระโอรส 1 พระองค์ กับ 4 องค์ และพระธิดา 8 องค์ รวม 13 พระองค์/องค์ ได้แก่
Remove ads
พระนามทรงกรม
สรุป
มุมมอง



พระราชโอรส พระราชธิดา และพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ได้สถาปนาเป็น เจ้าต่างกรม มีพระนามกรมดังต่อไปนี้
พ.ศ. 2396
- มเหศวรศิววิลาส - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส (6 มีนาคม พ.ศ. 2366 - 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2410)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2396
พ.ศ. 2399
- วิษณุนาถนิภาธร - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิษณุนาถนิภาธร (26 พฤษภาคม พ.ศ. 2367 - 4 ธันวาคม พ.ศ. 2405)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2399
พ.ศ. 2404
- พินิตประชานาถ - พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (20 กันยายน พ.ศ. 2396 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่นพิฆเนศวรสุรสังกาศ โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2404
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรมเป็น กรมขุนพินิตประชานาถ โดย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2410
พ.ศ. 2413
- ภาณุพันธุวงศ์วรเดช - สมเด็จพระราชปิตุลา บรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช (11 มกราคม พ.ศ. 2403 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2471)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2413
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลือนกรมเป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2424
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรมเป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2428
- กรมพระยา ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรมเป็น กรมพระยา โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
พ.ศ. 2418
- นเรศรวรฤทธิ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนเรศรวรฤทธิ์ (7 พฤษภาคม พ.ศ. 2398 - 10 สิงหาคม พ.ศ. 2468)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2418
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
พ.ศ. 2419
- จักรพรรดิพงษ์ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจาตุรนต์รัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ (13 มกราคม พ.ศ. 2400 - 11 เมษายน พ.ศ. 2443)
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2419
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2429
- พิชิตปรีชากร - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร (29 ตุลาคม พ.ศ. 2398 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2453)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2419
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2429
- อดิศรอุดมเดช - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงอดิศรอุดมเดช (15 มีนาคม พ.ศ. 2399 - 16 เมษายน พ.ศ. 2468)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2419
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456
- ภูธเรศธำรงศักดิ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นภูธเรศธำรงศักดิ์ (15 มีนาคม พ.ศ. 2399 - 8 ธันวาคม พ.ศ. 2440)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนา เป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2419
พ.ศ. 2424
- เทวะวงศ์วโปการ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ (27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2401 - 28 มิถุนายน พ.ศ. 2466)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2424
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2429
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
- กรมพระยา ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระยา โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459
- วชิรญาณวโรรส - สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส (12 เมษายน พ.ศ. 2403 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2464)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2424
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2449
- กรมพระยา ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระยา โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2454
- ประจักษ์ศิลปาคม - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม (5 เมษายน พ.ศ. 2399 - 25 มกราคม พ.ศ. 2468)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2424
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442
พ.ศ. 2425
- ขัตติยกัลยา - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมขุนขัตติยกัลยา (10 ธันวาคม พ.ศ. 2398 - 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2425)
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2425
พ.ศ. 2426
- ศิริธัชสังกาศ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนศิริธัชสังกาศ (16 ตุลาคม พ.ศ. 2400 - 11 มีนาคม พ.ศ. 2454)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2426
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุนโดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448
- พรหมวรานุรักษ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพรหมวรานุรักษ์ (5 สิงหาคม พ.ศ. 2399 - 4 มกราคม พ.ศ. 2468)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2426
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456
- ราชศักดิ์สโมสร - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นราชศักดิ์สโมสร (3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2399 - 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2426
พ.ศ. 2427
- วิสุทธิกระษัตริย์ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจันทรมณฑล โสภณภควดี กรมหลวงวิสุทธิกระษัตริย์ (24 เมษายน พ.ศ. 2398 - 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2406)
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2427
พ.ศ. 2428
- นริศรานุวัดติวงศ์ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ (28 เมษายน พ.ศ. 2406 - 10 มีนาคม พ.ศ. 2490)
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเป็น เจ้าฟ้าต่างกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2428
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456
- กรมพระยา ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระยา โดย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2488
- สรรพสิทธิประสงค์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์ (29 ธันวาคม พ.ศ. 2400 - 3 เมษายน พ.ศ. 2465)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2428
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
พ.ศ. 2429
- ดำรงราชานุภาพ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ (21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2486)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2429
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2442
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
- กรมพระยา ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระยา โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472
- สมมตอมรพันธุ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสมมตอมรพันธุ์ (7 กันยายน พ.ศ. 2403 - 21 เมษายน พ.ศ. 2458)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2429
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2454
พ.ศ. 2431
- สรรพสาตรศุภกิจ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ (17 ตุลาคม พ.ศ. 2400 - 16 เมษายน พ.ศ. 2462)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อปี พ.ศ. 2431
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2448
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
พ.ศ. 2432
- นราธิปประพันธ์พงศ์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ (20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2404 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2474)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2432
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2464
พ.ศ. 2434
- พิทยลาภพฤฒิธาดา - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา (1 เมษายน พ.ศ. 2406 - 28 ตุลาคม พ.ศ. 2456)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2434
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2443
พ.ศ. 2438
- มรุพงษ์ศิริพัฒน์ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนมรุพงษ์ศิริพัฒน์ (27 พฤษภาคม พ.ศ. 2406 - 5 เมษายน พ.ศ. 2466)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2438
- กรมขุน ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมขุน โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455
- มหิศรราชหฤทัย - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย (30 มกราคม พ.ศ. 2409 - 15 เมษายน พ.ศ. 2450)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2438
พ.ศ. 2439
- ทิวากรวงษ์ประวัติ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นทิวากรวงษ์ประวัติ (17 สิงหาคม พ.ศ. 2400 - 3 มกราคม พ.ศ. 2458)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439
- วิวิธวรรณปรีชา - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นวิวิธวรรณปรีชา (11 ธันวาคม พ.ศ. 2403 - 10 ตุลาคม พ.ศ. 2475)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2439
พ.ศ. 2441
- สวัสดิวัดนวิศิษฎ์ - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ (22 ธันวาคม พ.ศ. 2408 - 10 ธันวาคม พ.ศ. 2478)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456
- กรมพระ ได้รับการสถาปนาเลื่อนกรม เป็น กรมพระ โดย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2466
- พงษาดิศรมหิป - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นพงษาดิศรมหิป (27 สิงหาคม พ.ศ. 2404 - 28 มกราคม พ.ศ. 2479)
- กรมหมื่น ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหมื่น โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2441
พ.ศ. 2446
- สมรรัตนศิริเชฐ - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสมรรัตนศิริเชฐ (19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2395 - 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2474)
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2446
พ.ศ. 2470
- ทิพยรัตนกิริฏกุลินี - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงทิพยรัตนกิริฏกุลินี (13 พฤษภาคม พ.ศ. 2407 - 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2501)
- กรมหลวง ได้รับการสถาปนาเป็น พระองค์เจ้าต่างกรม เป็น กรมหลวง โดย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2470
Remove ads
เชิงอรรถ
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Remove ads