คำถามยอดนิยม
ไทมไลน์
แชท
มุมมอง
ฟุตบอลโลก 2022
การแข่งขันฟุตบอลโลกครั้งที่ 22 ที่ประเทศกาตาร์ จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Remove ads
ฟุตบอลโลก 2022 (อังกฤษ: 2022 FIFA World Cup; อาหรับ: 2022 كأس العالم لكرة القدم, Kaʾs al-ʿālam li-kurat al-qadam 2022) เป็นกำหนดการแข่งขันฟุตบอลโลก ครั้งที่ 22 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทุกชาติสมาชิกฟีฟ่าที่จะจัดขึ้นทุกสี่ปี โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศกาตาร์ ตั้งแต่วันที่ 20 พฤศจิกายน ถึง 18 ธันวาคม 2022 นี่จะเป็นฟุตบอลโลกครั้งแรกที่จัดในโลกอาหรับและโลกมุสลิม[4] และเป็นครั้งที่สองที่จัดในทวีปเอเชียต่อจากฟุตบอลโลก 2002 ที่เกาหลีใต้และญี่ปุ่น[a] นอกจากนี้ ยังเป็นครั้งสุดท้ายที่มีทีมร่วมแข่งขัน 32 ทีม เนื่องจากจะมีการเพิ่มขึ้นเป็น 48 ทีมในฟุตบอลโลก 2026 ทีมชาติฝรั่งเศสเป็นแชมป์เก่าจากการแข่งขันครั้งที่ผ่านมา[5] เนื่องด้วยสภาพอากาศที่ร้อนจัดในฤดูร้อนของประเทศกาตาร์ ฟุตบอลโลกครั้งนี้จะจัดขึ้นตั้งแต่ปลายเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนธันวาคม ทำให้เป็นครั้งแรกที่จะไม่จัดในช่วงกลางปี โดยกรอบเวลาของการแข่งขันจะลดลงเหลือ 29 วัน[6]
Remove ads
มีการกล่าวหาว่ามีการทุจริตเกี่ยวกับการที่ประเทศกาตาร์ได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ การสอบสวนภายในและรายงานของฟีฟ่าทำให้ประเทศกาตาร์พ้นต่อความผิดใด ๆ แต่มิเชล เจ. การ์ซิอา หัวหน้าเจ้าพนักงานสืบสวน ก็ได้อธิบายรายงานของฟีฟ่าเกี่ยวกับการไต่สวนของเขาว่ามี "การเป็นตัวแทนที่ไม่สมบูรณ์และผิดพลาดจำนวนมาก"[7] เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2015 อัยการสมาพันธรัฐสวิสได้เปิดการสอบสวนเรื่องการทุจริตและการฟอกเงินที่เกี่ยวข้องกับการเสนอตัวเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2018 และ 2022[8][9] เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2018 เซ็พ บลัทเทอร์ อดีตประธานฟีฟ่า อ้างว่าประเทศกาตาร์ใช้ "ปฏิบัติการดำ" โดยชี้ว่าคณะกรรมการประมูลโกงเพื่อชิงสิทธิ์การเป็นเจ้าภาพ[10] นอกจากนี้ ประเทศกาตาร์เผชิญคำวิจารณ์หนักจากการปฏิบัติต่อแรงงานต่างด้าวที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมตัวจัดการแข่งชัน แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ระบุว่ามีการบังคับแรงงาน และมีแรงงานข้ามชาติหลายร้อยหรือหลายพันคนเสียชีวิตอันเป็นผลมาจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสภาพการทำงานที่ประมาทและไร้มนุษยธรรม แม้ว่าจะมีการร่างมาตรฐานสวัสดิการแรงงานในปี 2014
Remove ads
การคัดเลือกเจ้าภาพ
ทีม
สรุป
มุมมอง
ทีมที่ผ่านการคัดเลือก
หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บเป็นตำแหน่งสุดท้ายในอันดับโลกฟีฟ่าก่อนการแข่งขัน[11]
เอเอฟซี (6)
ซีเอเอฟ (5) |
คอนคาแคฟ (4) คอนเมบอล (4)
โอเอฟซี (0)
|
ยูฟ่า (13) |
![]() ทีมที่ผ่านการคัดเลือก ทีมที่มีโอกาสผ่านการคัดเลือก ทีมที่ตกรอบ ทีมที่ถอนตัวหรือถูกห้ามไม่ให้แข่งขัน ไม่ใช่สมาชิกฟีฟ่า
|
การจับสลาก
การจับสลากรอบสุดท้ายจัดขึ้นที่ศูนย์นิทรรศการและการประชุมโดฮา ในกรุงโดฮา ประเทศกาตาร์[12] เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2022[13] เวลา 19:00 น. (เวลามาตรฐานอาระเบีย) ก่อนที่จะการแข่งขันรอบคัดเลือกจะเสร็จสิ้น ผู้ชนะสองทีมจากเพลย์ออฟระหว่างสมาพันธ์และผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรปจึงยังไม่เป็นที่ทราบกันขณะจับสลาก[14]
ผู้เล่น
Remove ads
ผู้ตัดสิน
เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ฟีฟ่าได้ประกาศรายชื่อผู้ตัดสิน 36 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 69 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ 24 คนสำหรับการแข่งขัน[15][16] เป็นครั้งแรกที่ผู้ตัดสินหญิงจะเป็นผู้ตัดสินเกมในการแข่งขันรายการใหญ่ชาย
Stéphanie Frappart จากฝรั่งเศส, Salima Mukansanga จากรวันดา และ Yoshimi Yamashita จากญี่ปุ่น กลายเป็นผู้ตัดสินหญิงคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งให้เข้าร่วมการแข่งขันฟุตบอลโลกชาย Frappart ดูแลการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงปี 2019 รอบชิงชนะเลิศ[17]
สนามแข่งขัน
Remove ads
รอบแบ่งกลุ่ม
กลุ่มเอ
กลุ่มบี
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
กลุ่มซี
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
กลุ่มดี
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
กลุ่มอี
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2022. แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
สนามกีฬาอัษษุมามะฮ์ โดฮา
ผู้ชม: 40,013 คน
ผู้ตัดสิน: มุฮัมมัด อับดุลลอฮ์ ฮะซัน มุฮัมมัด (สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์)
กลุ่มเอฟ
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
กลุ่มจี
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
กลุ่มเอช
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
Remove ads
รอบแพ้คัดออก
สายการแข่งขัน
รอบ 16 ทีม | รอบก่อนรองฯ | รอบรองฯ | ชิงชนะเลิศ | |||||||||||
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์) | ||||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
9 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
![]() | 2 (3) | |||||||||||||
3 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (อะห์มัด บิน อะลี) | ||||||||||||||
![]() | 2 (4) | |||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
13 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
5 ธันวาคม – อัลวักเราะฮ์ | ||||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
![]() | 1 (1) | |||||||||||||
9 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา) | ||||||||||||||
![]() | 1 (3) | |||||||||||||
![]() | 1 (4) | |||||||||||||
5 ธันวาคม – โดฮา (974) | ||||||||||||||
![]() | 1 (2) | |||||||||||||
![]() | 4 | |||||||||||||
18 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
![]() | 3 (4) | |||||||||||||
4 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
![]() | 3 (2) | |||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
10 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
4 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์) | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
14 ธันวาคม – อัลเคาร์ | ||||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
6 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (นครการศึกษา) | ||||||||||||||
![]() | 0 | ชิงที่สาม | ||||||||||||
![]() | 0 (3) | |||||||||||||
10 ธันวาคม – โดฮา (อัษษุมามะฮ์) | 17 ธันวาคม – อัรร็อยยาน (เคาะลีฟะฮ์) | |||||||||||||
![]() | 0 (0) | |||||||||||||
![]() | 1 | ![]() | 2 | |||||||||||
6 ธันวาคม – ลูซัยล์ | ||||||||||||||
![]() | 0 | ![]() | 1 | |||||||||||
![]() | 6 | |||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
รอบก่อนรองชนะเลิศ
รอบรองชนะเลิศ
รอบชิงอันดับที่ 3
รอบชิงชนะเลิศ
Remove ads
รางวัล
รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[25][26]
Remove ads
สถิติ
สรุป
มุมมอง
ผู้ทำประตู
มีการทำประตู 172 ประตู จากการแข่งขัน 64 นัด เฉลี่ย 2.69 ประตูต่อนัด
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 7 ครั้ง
การทำประตู 4 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
รีชาร์ลีซง
เอเนร์ บาเลนเซีย
มาร์คัส แรชฟอร์ด
บูกาโย ซากา
โกดี คักโป
กงซาลู รามุช
อัลบาโร โมราตา
การทำประตู 2 ครั้ง
เนย์มาร์
แว็งซ็อง อาบูบาการ์
อันเดรย์ กรามาริช
แฮร์รี เคน
นิคคลัส ฟึลครูค
ไค ฮาเวิทซ์
โมแฮมเมด คูดุส
เมฮ์ดี ทอเรมี
ริตสึ โดอัง
ยูซุฟ อันนุศ็อยรี
เวาต์ เวคอสต์
รอแบร์ต แลวันดอฟสกี
บรูนู ฟือร์นังดึช
ราฟาแอล ลีเยา
ซาลิม อัดเดาซะรี
อาเล็กซานดาร์ มิตรอวิช
โช กยู-ซ็อง
เฟร์รัน ตอร์เรส
เบรล เอ็มโบโล
ยอร์ยัน เด อาร์รัสกาเอตา
การทำประตู 1 ครั้ง
อังเฆล ดิ มาริอา
เอนโซ เฟร์นันเดซ
อาเลกซิส มัก อาลิสเตร์
นาเวล โมลินา
มิตเชลล์ ดูก
เครก กู๊ดวิน
แมทิว เล็กกี
มีชี บัตชัวยี
กาเซมีรู
ลูกัส ปาเกตา
วีนีซียุส ฌูนีโยร์
ฌ็อง-ชาร์ล กัสเตเลโต
เอริก มักซิม ชูโป-โมติง
อัลฟอนโซ เดวีส์
เกย์เชร์ ฟูเลร์
เยลต์ซิน เตเฮดา
ฮวน ปาโบล บาร์กัส
ย็อชกอ กวาร์ดิออล
มาร์กอ ลิวายา
ลอวรอ มาเยร์
มิสลัฟ ออร์ชิช
อิวัน เปริชิช
บรูนอ เปตกอวิช
แอนเตรแอส เครสเตินเซิน
มอยเซส ไกเซโด
จูด เบลลิงแฮม
ฟิล โฟเดน
แจ็ก กรีลิช
จอร์แดน เฮนเดอร์สัน
ราฮีม สเตอร์ลิง
เตโอ แอร์น็องแดซ
ร็องดาล กอโล มัวนี
อาดรีแย็ง ราบีโย
โอเรเลียง ชัวเมนี
แซร์ช กนาบรี
อิลไค กึนโดอัน
อานเดร อายูว์
ออสมาน บูคารี
โมแฮมเมด ซาลีซู
รูซเบ เชชมี
รอมีน เรซอยยอน
ทากูมะ อาซาโนะ
ไดเซ็ง มาเอดะ
อาโอะ ทานากะ
ลุยส์ ชาเบซ
เฆนริ มาร์ติน
ซะกะรียา อะบูคลาล
อัชร็อฟ ดารี
รอแม็ง ซาอิส
ฮะกีม ซิยาช
เดลีย์ บลินด์
แม็มฟิส เดอไป
แด็นเซิล ดึมฟรีส
แฟร็งกี เดอ โยง
เดวี กลาสเซิน
ปียอตร์ แชลิญสกี
ฌูเวา แฟลิกส์
ราฟาแอล กึไรรู
รีการ์ดู ออร์ตา
เปปี
คริสเตียโน โรนัลโด
มุฮัมมัด มูนตารี
ศอเลียะห์ อัชชะฮ์รี
บูลาย ดียา
ฟามารา ดีเยดียู
บามบา เดียง
กาลีดู กูลีบาลี
อิสมาอีลา ซาร์
เซร์เกย์ มิลีงกอวิช-ซาวิช
สตราคิญา ปาฟลอวิช
ดูชัน วลาคอวิช
ฮวัง ฮี-ชัน
คิม ย็อง-กว็อน
แพ็ก ซึง-โฮ
มาร์โก อาเซนซิโอ
กาบิ
ดานิ โอลโม
การ์โลส โซเลร์
มานูเอ็ล อาคันจี
เรโม ฟร็อยเลอร์
แจร์ดัน ชาชีรี
วะฮ์บี ค็อซรี
คริสเตียน พะลิซิก
ทิโมที เวอาห์
ฮาจี ไรต์
แกเร็ท เบล
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
เอนโซ เฟร์นันเดซ (ในนัดที่พบกับ ออสเตรเลีย)
นายิฟ อะกัรด์ (ในนัดที่พบกับ แคนาดา)
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
การตลาด
ดร.ก้องศักด ยอดมณี ผู้ว่าการการกีฬาแห่งประเทศไทย ยืนยันว่าได้บรรลุข้อตกลงการซื้อลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดฟุตบอลโลก 2022 กับสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) จำนวน 64 แมตช์ ในมูลค่า 33 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 1,400 ล้านบาท
สิทธิการออกอากาศ True ID และ Free TV ประกอบด้วย 17 ช่อง มีดังนี้ ทรูโฟร์ยู 24, ทีสปอร์ต7, ช่อง 3, ช่อง 5, ช่อง 7, ช่อง 8, ช่อง 9 MCOT, NBT, TPBS, ไทยรัฐทีวี, อมรินทร์ทีวี, โมโน 29, PPTV 36, GMM25, เนชั่นทีวี, ONE 31 และ JKN18
Remove ads
ดูเพิ่ม
หมายเหตุ
- ฟุตบอลโลก 2018 ในรัสเซียมีสนามในทวีปเอเชียสองหากอ้างอิงจากขอบเขตทางภูมิศาสตร์ระหว่างเอเชียและยุโรป ได้แก่ เยคาเตรินบุร์ก และโซชิ
- ผู้ชนะจากสายเอของเพลย์ออฟโซนยุโรป โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
- ผู้ชนะจากเพลย์ออฟ คอนคาแคฟ–โอเอฟซี โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
- ผู้ชนะจากเพลย์ออฟ เอเอฟซี–คอนเมบอล โดยยังไม่ทราบตัวตน ณ เวลาของการจับสลาก
Remove ads
อ้างอิง
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Remove ads