Remove ads

จังหวัดเชียงราย มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ข้อมูลเบื้องต้น เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, จำนวนเขต ...
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดเชียงราย
Thumb
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต7
คะแนนเสียง239,628 (เพื่อไทย)
202,655 (ก้าวไกล)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งเพื่อไทย (4)
ประชาชน (3)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ
ปิด
Remove ads

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเชียงรายมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์)[2]

Remove ads

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งแผนที่จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอเชียงคำ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และอำเภอเทิง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพะเยา, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า และอำเภอแม่สรวย
2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอเชียงของ และอำเภอแม่จัน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพะเยา, อำเภอเทิง และอำเภอเชียงคำ
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า และอำเภอพาน
พ.ศ. 2491เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 24953 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2500/15 คน (เขตละ 5 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 25127 คน (เขตละ 7 คน)
พ.ศ. 2518· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และกิ่งอำเภอเวียงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน, อำเภอแม่ใจ, อำเภอพะเยา, อำเภอดอกคำใต้ และกิ่งอำเภอป่าแดด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเทิง, อำเภอเชียงคำ, อำเภอจุน, อำเภอปง และอำเภอเชียงม่วน
8 คน (เขต 1 และเขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2519· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเชียงของ และกิ่งอำเภอเวียงชัย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน, อำเภอแม่ใจ, อำเภอพะเยา, อำเภอดอกคำใต้ และอำเภอป่าแดด
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเทิง, อำเภอเชียงคำ, อำเภอจุน, อำเภอปง และอำเภอเชียงม่วน
พ.ศ. 2522· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเทิง, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย, อำเภอป่าแดด และกิ่งอำเภอเวียงชัย
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2526· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และอำเภอเชียงของ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเทิง, อำเภอพาน, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย, อำเภอป่าแดด, อำเภอเวียงชัย และกิ่งอำเภอพญาเม็งราย
พ.ศ. 2529· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย และกิ่งอำเภอพญาเม็งราย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย และอำเภอเชียงแสน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย และกิ่งอำเภอเวียงแก่น
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด
พ.ศ. 2535/1
พ.ศ. 2535/2· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน และกิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, กิ่งอำเภอเวียงแก่น และกิ่งอำเภอขุนตาล
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด
พ.ศ. 2538· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, กิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง และกิ่งอำเภอแม่ลาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงของ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, กิ่งอำเภอเวียงแก่น, กิ่งอำเภอขุนตาล และกิ่งอำเภอเชียงรุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด
8 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่จัน, กิ่งอำเภอแม่ฟ้าหลวง, กิ่งอำเภอแม่ลาว และกิ่งอำเภอดอยหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงของ, อำเภอเชียงแสน, อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอเวียงแก่น, กิ่งอำเภอขุนตาล และกิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอพาน และอำเภอป่าแดด
พ.ศ. 2544· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลห้วยชมภู ตำบลท่าสาย ตำบลแม่กรณ์ ตำบลห้วยสัก ตำบลดอยลาน และตำบลป่าอ้อดอนชัย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงชัย, อำเภอแม่ลาว, อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลท่าสาย ตำบลแม่กรณ์ ตำบลห้วยสัก ตำบลดอยลาน และตำบลป่าอ้อดอนชัย), อำเภอพาน (เฉพาะตำบลแม่อ้อ) และอำเภอพญาเม็งราย (เฉพาะตำบลไม้ยา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลห้วยชมภู)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอป่าแดดและอำเภอพาน (ยกเว้นตำบลแม่อ้อ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเทิง, อำเภอขุนตาล และอำเภอพญาเม็งราย (ยกเว้นตำบลไม้ยา)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่ฟ้าหลวง (ยกเว้นตำบลแม่ฟ้าหลวง) และอำเภอแม่จัน (ยกเว้นตำบลแม่ไร่ และตำบลท่าข้าวเปลือก)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเชียงแสน, อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่ไร่) และอำเภอแม่ฟ้าหลวง (เฉพาะตำบลแม่ฟ้าหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 8 : อำเภอเวียงแก่น, อำเภอเชียงของ, อำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลท่าข้าวเปลือก), กิ่งอำเภอดอยหลวง และกิ่งอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
8 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย, อำเภอแม่สรวย, อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอเวียงชัย และอำเภอแม่ลาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเชียงของ, อำเภอพาน, อำเภอเทิง, อำเภอป่าแดด, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอขุนตาล, อำเภอเวียงเชียงรุ้ง และอำเภอดอยหลวง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่จัน, อำเภอเชียงแสน และอำเภอแม่ฟ้าหลวง
8 คน (เขต 1 และ เขต 2 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลบ้านดู่ ตำบลนางแล ตำบลห้วยชมภู ตำบลรอบเวียง ตำบลสันทราย ตำบลแม่ยาว ตำบลริมกก ตำบลดอยฮาง ตำบลแม่กรณ์ ตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลท่าสุด และตำบลเวียง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงป่าเป้า, อำเภอแม่สรวย และอำเภอแม่ลาว
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลดอยลาน ตำบลห้วยสัก ตำบลท่าสาย และตำบลป่าอ้อดอนชัย) และอำเภอพาน
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเทิง, อำเภอเวียงชัย และอำเภอป่าแดด
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอพญาเม็งราย และอำเภอขุนตาล
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอเชียงแสน, อำเภอดอยหลวง และอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่จันและอำเภอแม่ฟ้าหลวง
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลท่าสาย ตำบลสันทราย ตำบลป่าอ้อดอนชัย ตำบลห้วยสัก และตำบลดอยลาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอแม่ลาว, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเวียงป่าเป้า
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพานและอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลท่าสาย ตำบลสันทราย ตำบลป่าอ้อดอนชัย ตำบลห้วยสัก และตำบลดอยลาน)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเทิง, อำเภอป่าแดด, อำเภอเวียงชัย และอำเภอเวียงเชียงรุ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเชียงของ, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอขุนตาล, อำเภอพญาเม็งราย และอำเภอเชียงแสน (เฉพาะตำบลแม่เงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอดอยหลวง และอำเภอเชียงแสน (ยกเว้นตำบลแม่เงิน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอแม่จันและอำเภอแม่ฟ้าหลวง
Thumb7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเชียงราย (ยกเว้นตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลนางแล ตำบลท่าสุด ตำบลดอยลาน และตำบลห้วยสัก)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเวียงชัย, อำเภอเวียงเชียงรุ้ง, อำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลแม่ข้าวต้ม ตำบลนางแล และตำบลท่าสุด) และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่จัน ตำบลป่าตึง ตำบลป่าซาง ตำบลสันทราย และตำบลท่าข้าวเปลือก)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแม่ลาว, อำเภอแม่สรวย และอำเภอเวียงป่าเป้า
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพาน, อำเภอป่าแดด และอำเภอเมืองเชียงราย (เฉพาะตำบลดอยลานและตำบลห้วยสัก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอเทิง, อำเภอพญาเม็งราย, อำเภอขุนตาล และอำเภอเชียงของ (เฉพาะตำบลบุญเรือง)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอแม่สาย, อำเภอแม่ฟ้าหลวง และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลแม่ไร่ ตำบลแม่คำ ตำบลศรีค้ำ และตำบลจอมสวรรค์)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอเชียงแสน, อำเภอดอยหลวง, อำเภอเวียงแก่น, อำเภอเชียงของ (ยกเว้นตำบลบุญเรือง) และอำเภอแม่จัน (เฉพาะตำบลจันจว้าและตำบลจันจว้าใต้)
Thumb7 คน (เขตละ 1 คน)
Remove ads

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[3]
พระดุลยธรรมปรีชาไวท์ (ยม สุขานุศาสน์)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
เขตชุดที่ 2 พ.ศ. 2480ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1นายประยูร วิมุกตาคมนายบุญศรี วิญญรัตน์นายประยูร วิมุกตาคมนายศิริ เพ็ชรรัตน์
2นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)นายบรรจบ บรรณสิทธิ์นายบุญยฝาง ทองสวัสดิ์
3ขุนพิพิธสุขอำนวย

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5พ.ศ. 2491พันโท แสวง ทัพพะสุต
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
พ.ศ. 2492นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

ลำดับชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์
2นายบุณยฝาง ทองสวัสดิ์
3นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคเสรีมนังคศิลาพรรคชาติสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์)
นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์นายบุญช่วย ศรีสวัสดิ์
นายบุณยฝาง ทองสวัสดิ์นายส่งศักดิ์ สายปัญญา
พันตรี เล็ก ทองสุนทรนายแถม นุชเจริญ
นายอำนวย ปาชะเดชนายประพันธ์ อัมพุช

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหประชาไทย
ลำดับชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี
2นายขวัญชัย สารากิจ
3นายบุญเรือง กิจกล่ำศวร
4นายบุญสวัสดิ์ ดวงใจเอกราช
5นายแถม นุชเจริญ
6นายอินทร์หล่อ สรรพศรี
7ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

      พรรคชาติไทย
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคพลังใหม่
      พรรคกิจสังคม
      พรรคสันติชน
      พรรคธรรมสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 11 พ.ศ. 2518ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1จ่าสิบเอกทรงธรรม ปัญญาดีจ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี
นายพายัพ กาญจนารัณย์นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์
นายสัณฐาน สุริยะคำนายวรวิทย์ คำเงิน
2ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัคร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค
นายฤทธิ์ อินทรนันท์นายวินัย นามเสถียร
นายประพันธ์ อัมพุชนายหลง ศิริพันธุ์
3นายเชวง วงศ์ใหญ่นายเชวง วงศ์ใหญ่
นายประสิทธิ์ พันธุ์ฟูจินดานายเพียว ตันบรรจง

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

      พรรคชาติไทย
      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)
      พรรคกิจสังคม
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
เขตชุดที่ 13 พ.ศ. 2522ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1นายชูสง่า ฤทธิประศาสน์นายมงคล จงสุทธนามณี
นายพายัพ กาญจนารัณย์
จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดีจ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี
2ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัคร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัค
นายฤทธิ์ อินทรนันท์นางอำไพ ปัญญาดี
นายสำเร็จ ภูนิคม

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

      พรรครวมไทย (พ.ศ. 2529)พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคสหประชาธิปไตย
      พรรคชาติไทย
      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
เขตชุดที่ 15 พ.ศ. 2529ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535
1นายมงคล จงสุทธนามณีนายมงคล จงสุทธนามณีนายมงคล จงสุทธนามณี
นายวีระพล มุตตามระนายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
นายวิจิตร ยอดสุวรรณจ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดีจ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
จ่าสิบเอก ทรงธรรม ปัญญาดี
2นายประทวน รมยานนท์นายสำเร็จ ภูนิคม
นายองอาจ เสนาธรรมนายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์นายทวี พุทธจันทร์นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
3ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัคนายอาทิตย์ วิลัยวงค์ร้อยโท สมศาสตร์ รัตนสัคนายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคเอกภาพ
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคชาติไทย
      พรรคนำไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
เขตชุดที่ 19 พ.ศ. 2538ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1นายฉัฐวัสส์ มุตตามระนายฉัฐวัสส์ มุตตามระ
นายยงยุทธ ติยะไพรัชนายยงยุทธ ติยะไพรัช
นางรัตนา จงสุทธนามณี
2นายประทวน รมยานนท์
(เสียชีวิต)
นายสัมพันธ์ เลิศนุวัฒน์
นายมงคล จงสุทธนามณี
(แทนนายประทวน)
นายบัวสอน ประชามอญนายมงคล จงสุทธนามณี
นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
3นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์
นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
เขตชุดที่ 21[4] พ.ศ. 2544ชุดที่ 22[5] พ.ศ. 2548
1นายสามารถ แก้วมีชัย
2นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์
3นายถาวร ตรีรัตน์ณรงค์นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์
4นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
5นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
6นายยงยุทธ ติยะไพรัชนางสาวละออง ติยะไพรัช
7นายอิทธิเดช แก้วหลวง
8นายบัวสอน ประชามอญ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคเพื่อไทย
เขตชุดที่ 23[6] พ.ศ. 2550
1นายสามารถ แก้วมีชัย
นายสฤษฏ์ อึ้งอภินันท์
นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์
2นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์
นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์
นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
3นางสาวละออง ติยะไพรัช
นายอิทธิเดช แก้วหลวง

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคอนาคตใหม่พรรคก้าวไกล
      พรรคก้าวไกลพรรคประชาชน
เขตชุดที่ 24 พ.ศ. 2554ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1นายสามารถ แก้วมีชัยนายเอกภพ เพียรพิเศษ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายชิตวัน ชินอนุวัฒน์
2นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์นายวิสิษฐ์ เตชะธีราวัฒน์นางสาวปิยะรัฐชย์ ติยะไพรัช
3นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์นายฐากูร ยะแสง
4นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์นายรังสรรค์ วันไชยธนวงศ์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางสาววิสาระดี เตชะธีราวัฒน์
5นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพานนายเทอดชาติ ชัยพงษ์
6นายอิทธิเดช แก้วหลวงนายพีรเดช คำสมุทร
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางจุฬาลักษณ์ ขันสุธรรม
7นางสาวละออง ติยะไพรัชนายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
Remove ads

รูปภาพ

Remove ads

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Remove ads

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.

Remove ads