สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

ข้อมูลเบื้องต้น อดีตเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, จำนวนเขต ...
อดีตเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดพระนคร
จำนวนเขต1
เขตเลือกตั้งครั้งก่อน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ยุบเลิกพ.ศ. 2514
ที่นั่งประชาธิปัตย์ (15)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
พิชัย รัตตกุล
เล็ก นานา
ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
เกษม บุญศรี
สวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์
สมบุญ ศิริธร
ดำรง ลัทธพิพัฒน์
ธรรมนูญ เทียนเงิน
คุณหญิง เลขา อภัยวงศ์
พลตำรวจโท ประชา บูรณธนิต
ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
ศิระ ปัทมาคม
พลโท บุศรินทร์ ภักดีกุล
พลเรือเอกเสนาะ รักธรรม
ปิด

ประวัติศาสตร์

หลังจากประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงมีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 โดยการเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดพระนครมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดแรก คือ พลโทพระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) นายไต๋ ปาณิกบุตร และ ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) [1]

เขตการเลือกตั้ง

การเลือกตั้งเขตการเลือกตั้งจำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2480· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนคร, อำเภอสัมพันธวงศ์, อำเภอป้อมปราบ และอำเภอนางเลิ้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดุสิต, อำเภอปทุมวัน, อำเภอบางรัก และอำเภอบ้านทะวาย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระโขนง, อำเภอบางกะปิ, อำเภอบางซื่อ, อำเภอบางเขน, อำเภอมีนบุรี, อำเภอหนองจอก และอำเภอลาดกระบัง
3 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2481· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนคร, อำเภอสัมพันธวงศ์ และอำเภอป้อมปราบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดุสิต, อำเภอปทุมวัน, อำเภอบางรัก และอำเภอบ้านทะวาย
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอพระโขนง, อำเภอบางกะปิ, อำเภอบางเขน, อำเภอมีนบุรี และอำเภอหนองจอก
พ.ศ. 2489· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอพระนครและอำเภอป้อมปราบศัตรูพ่าย
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสัมพันธวงศ์, อำเภอบางรัก และอำเภอยานนาวา
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอปทุมวันและอำเภอดุสิต
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบางกะปิ, อำเภอมีนบุรี และอำเภอหนองจอก
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบางเขน, อำเภอนนทบุรี และอำเภอปากเกร็ด
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอพระโขนง, อำเภอพระประแดง, อำเภอสมุทรปราการ, อำเภอบางพลี และอำเภอบางบ่อ
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2491เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด4 คน (เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 24956 คน (เขตละ 6 คน)
พ.ศ. 2500/19 คน (เขตละ 9 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 251215 คน (เขตละ 15 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1; พ.ศ. 2476

ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476[2]
พลโท พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา)
นายไต๋ ปาณิกบุตร
ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์)

ชุดที่ 2–4; พ.ศ. 2480–2489

      พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคสหชีพ
      พรรคสหชีพพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญ
      พรรคอิสระ (พ.ศ. 2488)
เขตชุดที่ 2 พ.ศ. 2480ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481ชุดที่ 4
มกราคม พ.ศ. 2489สิงหาคม พ.ศ. 2489
เลือกตั้งเพิ่มเติม
1พระยาโอวาทวรกิจ (เหม ผลพันชิน)ขุนสมาหารหิตะคดี (โป๊ โปรคุปต์) (เสียชีวิต)นายโชติ คุ้มพันธ์หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
นายโชติ คุ้มพันธ์ (แทนขุนสมาฯ)
2ร้อยตำรวจเอก เสวียน โอสถานุเคราะห์ร้อยโท ณเณร ตาละลักษณ์ (ขาดคุณสมบัติ)พันตรี ควง อภัยวงศ์พระยาศรีวิสารวาจา
นายเลื่อน พงษ์โสภณ (แทนร้อยโท ณเณร)
3นายอรุณ ทองปัชโชติหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมชร้อยตำรวจเอกภิเศก พรหมายน
4นายรังสฤษดิ์ เชาวนศิริร้อยตำรวจเอก อภัย สงเคราะห์ราษฏร์
5ขุนชำนิอนุศาสน์นายประสาท สุขุม
6นายดิเรก ชัยนาม (ลาออก)
นายอรุณ พันธ์ุฟัก (แทนนายดิเรก)

ชุดที่ 5; พ.ศ. 2491–2492

ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 5พ.ศ. 2491พันตรี ควง อภัยวงศ์
หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช (ลาออก)
พลโท ชิต มั่นศิลป์สินาดโยธารักษ์
(แทนหม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์)
ร้อยตำรวจเอก ภิเศก พรหมมายน
พ.ศ. 2492ขุนปลดปรปักษ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
นายประพัฒน์ วรรณธนะสาร (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 7; พ.ศ. 2495

ลำดับชุดที่ 7 พ.ศ. 2495
1นายประพัฒน์ วรรณธนะสาร (เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
2นายฉัตร ศรียานนท์
3พลโท ปลด ปลดปรปักษ์ พิบูลภานุวัธน์ (เสียชีวิต)
นายจันโนทัย ฤกษสุต (แทนพลโทปลด)
4นายจินตะเสน ไชยาคำ
5นายเพทาย อมาตยกุล
6นายโชติ คุณะเกษม

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
จอมพล แปลก พิบูลสงครามหลวงอังคณานุรักษ์ (สมถวิล เทพาคำ)
พันตรี ควง อภัยวงศ์
พลเอก เภา เพียรเลิศพลเรือตรี ชลิต กุลกำม์ธร
พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ร้อยโทถวิล ระวังภัย
พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยานายสมบุญ ศิริธร
นาวาโท พระประยุทธชลธี
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงศ์ ลัดพลี)นาวาเอกหลวงศุภชลาศัย
พลเอก มังกร พรหมโยธีนาวาเอก หลวงศรีสาลีพิช
พันเอก หลวงสวัสดิ์สรยุทธพลเอก เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ
-พลโท ชิต มั่นศิลป์ สินาดโยธารักษ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-พลเรือตรี แชน ปัจจุสานนท์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-หลวงนรอัฎบัญชา (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-นายเล็ก นานา (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-นายเกษม บุญศรี (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-นายกมล จันทรสร (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
-หลวงประกอบนิติสาร (เลือกตั้งเพิ่มเติม)

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคประชาธิปัตย์
ลำดับชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
2นายพิชัย รัตตกุล
3นายเล็ก นานา
4ร้อยตำรวจเอก สุรัตน์ โอสถานุเคราะห์
5นายเกษม บุญศรี
6นายสวาสดิ์ สุมาลยศักดิ์
7นายสมบุญ ศิริธร
8นายดำรง ลัทธพิพัฒน์
9นายธรรมนูญ เทียนเงิน
10นาวาเอก ผัน เปรมมณี (เสียชีวิต)
คุณหญิงเลขา อภัยวงศ์ (แทนนาวาเอกผัน)
11พลตำรวจโท ประชา บูรณธนิต
12นายณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม
13นางศิระ ปัทมาคม
14พลโท บุศรินทร์ ภักดีกุล
15พลเรือเอก เสนาะ รักธรรม

รูปภาพ

อ้างอิง

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.