รัฐกันชน (อังกฤษ: Buffer state) คือประเทศที่ตั้งอยู่ระหว่างรัฐมหาอำนาจคู่แข่งหรือเป็นปรปักษ์ระหว่างกัน[1] ซึ่งสาเหตุของการคงอยู่มีเพื่อเป็นการป้องกันความขัดแย้งระหว่างรัฐมหาอำนาจด้วยกัน รัฐกันชนที่มีเอกราชอย่างแท้จริง มักจะดำเนินนโยบายต่างประเทศสายกลาง ซึ่งเป็นการป้องกันตนเองจากการตกเป็นรัฐบริวาร ความร่วมมือกันระหว่างรัฐกันชนเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีการถ่วงดุลอำนาจ ซึ่งเข้าสู่ยุทธศาสตร์และการคิดในเชิงการทูตของยุโรปในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17
งานวิจัยแสดงให้เห็นว่ารัฐกันชนมีโอกาสที่จะถูกพิชิตและยึดครองมากกว่ารัฐที่ไม่กันชน[2] บ่อยครั้งที่การรุกรานรัฐกันชนโดยหนึ่งในมหาอำนาจที่รายล้อมมันอยู่มักจะก่อให้เกิดสงครามระหว่างประเทศ อย่างเช่น การรุกรานเบลเยียมของเยอรมนี ทำให้สหราชอาณาจักรตัดสินใจเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
Alan Wood, "The Revolution and Civil War in Siberia," in Edward Acton, Vladimir Iu. Cherniaev, and William G. Rosenberg (eds.), Critical Companion to the Russian Revolution, 1914–1921. Bloomington, IN: Indiana University Press, 1997; pp. 716–717.
George Jackson and Robert Devlin (eds.), Dictionary of the Russian Revolution. Westport, CT: Greenwood Press, 1989; pp. 223–225.
The World Today; Bhutan and Sikkim: Two Buffer States Vol. 15, No. 12. Royal Institute of International Affairs. 1959. pp. 492–500.
Pholsena, Vatthana (2007). LAOS, From Buffer State to Crossroads. Silkworm Books. ISBN 978-9749480502.
Macgregor, John (1994). Through the Buffer State : Travels in Borneo, Siam, Cambodia, Malaya and Burma. White Lotus Co Ltd; 2 edition. ISBN 978-9748496252.
Cory, Stephen (2016). Reviving the Islamic Caliphate in Early Modern Morocco. Routledge. pp. 36–37. ISBN 9781317063438.
Stent, Angela E. (1998). "Russia and Germany Reborn: Unification, the Soviet Collapse, and the New Europe". Princeton University Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2014. สืบค้นเมื่อ 1 January 2015. Moscow's German Problem before Detente - The Federal Republic - In 1945, the major Soviet preoccupation was to prevent any future German attack; hence the imposition of Soviet-controlled governments in a ring of buffer states between Germany and the USSR.
Witzenrath, Christoph (2016). Eurasian Slavery, Ransom and Abolition in World History, 1200-1860. Routledge. p. 198. ISBN 9781317140023.