เจเนราลิสซีโม

ยศทหาร จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เจเนราลิสซีโม (generalissimo) เป็นคำในภาษาอิตาลี มาจากคำว่า generale ประสมกับส่วนต่อท้ายคำ -issimo ซึ่งมาจากภาษาละติน -issimus[1] ซึ่งหมายถึง "อย่างที่สุด, ไปจนถึงขั้นสูงสุด" เป็นยศทางทหารที่สูงกว่าจอมพล

เจเนราลิสซีโมเป็นผู้คุมอำนาจทางทหารอย่างเบ็ดเสร็จ ในบางครั้ง "เจเนราลิสซีโม" ถูกใช้ในภาษาอังกฤษใหม่ โดยมีความหมายถึง นายทหารผู้ซึ่งได้รับอำนาจทางการเมืองจากการก่อรัฐประหาร หรือในบางกรณีที่หมายถึงผู้ที่สั่งระงับรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า เพื่อที่จะครอบครองอำนาจด้วยวิธีทางทหาร

รายพระนามและรายนามผู้ครองยศเจเนราลิสซีโม

สรุป
มุมมอง
ฟรันซิสโก ฟรังโก
จอห์น เจ. เพอร์ชิง
โจเซฟ สตาลิน
คิม อิล-ซ็อง
จักรพรรดิโชวะ
แฮร์มัน เกอริง
เจียง ไคเชก
เบนิโต มุสโสลินี
แฟร์ดีน็อง ฟ็อช
เจ้าชายเยิร์นแห่งเดนมาร์ก
อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟ
คาร์ล ฟิลลิพ เจ้าชายแห่งชวาร์ทเซินแบร์ค
เจเนราลิสซีโม: ฟรันซิสโก ฟรังโก (สเปน), จอห์น เจ. เพอร์ชิง (สหรัฐ), โจเซฟ สตาลิน (สหภาพโซเวียต), คิม อิล-ซ็อง (เกาหลีเหนือ), จักรพรรดิโชวะ (ญี่ปุ่น), แฮร์มัน เกอริง (เยอรมนี), เจียง ไคเชก (จีน), เบนิโต มุสโสลินี (อิตาลี), แฟร์ดีน็อง ฟ็อช (ฝรั่งเศส), เจ้าชายเยิร์นแห่งเดนมาร์ก (บริเตนใหญ่), อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟ (รัสเซีย) และคาร์ล ฟิลลิพ เจ้าชายแห่งชวาร์ทเซินแบร์ค (ออสเตรีย)
ข้อมูลเพิ่มเติม ชื่อ, สังกัด (กองทัพ) ...
ชื่อสังกัด (กองทัพ)ประเทศดำรงตำแหน่งหมายเหตุ
เจ้าชายหลุยส์ โดแฟ็งแห่งฝรั่งเศสสงครามสืบราชบัลลังก์สเปน ฝรั่งเศสค.ศ. 1708
ฌ็อฟร์, โฌแซ็ฟโฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์กองทัพบกฝรั่งเศส ฝรั่งเศสค.ศ. 1914จอมพลแห่งฝรั่งเศส ในฐานะผู้บัญชาการทหารบกฝรั่งเศส généralissime.
ฟ็อช, แฟร์ดีน็องแฟร์ดีน็อง ฟ็อชกองทัพบกฝรั่งเศส ฝรั่งเศสค.ศ. 1918Généralissime was the title used to describe Ferdinand Foch's Allied Command, starting 26 March 1918. He actually held the rank of général de division, and later the dignity of Marshal of France.[2]
กาเมอแล็ง, มอริสมอริส กาเมอแล็งกองทัพบกฝรั่งเศส ฝรั่งเศสค.ศ. 1939จอมพลแห่งกองทัพ ในฐานะผู้บัญชาการกองทัพฝรั่งเศส généralissime.
เวย์แกนด์, แมกซิมแมกซิม เวย์แกนด์กองทัพบกฝรั่งเศส ฝรั่งเศสค.ศ. 1940จอมพลแห่งกองทัพ ในฐานะผู้บัญชาการกองทัพฝรั่งเศส généralissime.
ยฺเหวียน ชื่อไข่กองทัพเป่ย์หยาง จีนค.ศ. 1913ต้าหยวนฉ่วย
ซุน ยัตเซ็นกองทัพสงบแห่งชาติ จีนค.ศ. 1921ต้าหยวนฉ่วย หรือ จอมพลสูงสุดโดยตำแหน่ง[3] (source does not support this)
จาง จั้วหลินกองทัพสงบแห่งชาติ จีนค.ศ. 1927ต้าหยวนฉ่วย
เจียง ไคเชกกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน จีนค.ศ. 1935Tèjí Shàngjiàng (特級上將), "Generalissimo"[4]

[Note 1]

เหมา เจ๋อตงกองทัพปลดปล่อยประชาชน จีนค.ศ. 1955เคยถูกเสนอยศ เจเนราลิสซีโมแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (declined usage)
ฟรันซิสโก เด มิรันดากองทัพบกเวเนซุเอลา เวเนซุเอลาค.ศ. 1812
มิเกล อิดัลโกกองทัพปฏิวัติเม็กซิโก เม็กซิโกกันยายน 1810 – กุมภาพันธ์ 1811[5]
ฟรันซิสโก ฟรังโกกองทัพสเปน สเปนค.ศ. 1936–1975generalísimo[6]
เอมีลีโอ อากีนัลโดกองทัพปฏิวัติฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ค.ศ. 1898–1901Heneralismo[7]
Ihsan NuriArarat ForcesKurdish Republic of Araratค.ศ. 1927–1930[8]
เจ้าชายคาร์ล โยฮัน มกุฎราชกุมารแห่งสวีเดนและนอร์เวย์กองทัพบกสวีเดน สวีเดนค.ศ. 1810–1818[9]

[Note 2]

คาร์ล ฟิลลิพ เจ้าชายแห่งชวาร์ทเซินแบร์คกองทัพบกออสเตรีย ออสเตรียค.ศ. 1813–1814
อะเลคซันดร์ เมนชีคอฟกองทัพบกจักรวรรดิรัสเซีย รัสเซียค.ศ. 1727–1728[10]
อะเลคซันดร์ ซูโวรอฟกองทัพบกจักรวรรดิรัสเซีย รัสเซียค.ศ. 1799
โจเซฟ สตาลินกองทัพโซเวียต สหภาพโซเวียตค.ศ. 1945เจเนราลิสซีโมแห่งสหภาพโซเวียต[11] (declined)
คิม อิล-ซ็องกองทัพประชาชนเกาหลี เกาหลีเหนือค.ศ. 1992แทว็อนซู[12]
คิม จ็อง-อิลกองทัพประชาชนเกาหลี เกาหลีเหนือค.ศ. 2012แทว็อนซู (Promoted posthumously)[13]
ราฟาเอล ตรูฮิโยกองทัพบกโดมินิกัน สาธารณรัฐโดมินิกันค.ศ. 1930[14]
Albrecht von Wallensteinสงคราม 30 ปี จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ภายใต้ "พระบัญชาแห่งจักรพรรดิ์"[15]ค.ศ. 1625[16]
Johann Tserclaes, Count of Tillyสงคราม 30 ปี จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ภายใต้ "พระบัญชาแห่งจักรพรรดิ์"[15]ค.ศ. 1630[16]
ดีเอโดโร ดา ฟอนเซกากองทัพบกบราซิล บราซิลค.ศ. 1890ประธานาธิบดีคนแรกของสาธารณรัฐบราซิล ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิ
Our Lady of Aparecidaกองทัพบกบราซิล บราซิลค.ศ. 1967
จอร์จ วอชิงตันContinental Army
กองทัพบกสหรัฐ
 สหรัฐค.ศ. 1776เจนรัลออฟดิอาร์มีส์ Promoted posthumously [17]
ยูลิสซีส เอส. แกรนต์กองทัพบกสหรัฐ สหรัฐค.ศ. 1866เจนรัลออฟดิอาร์มีส์ Promoted posthumously
จอห์น เจ. เพอร์ชิงAmerican Expeditionary Forces สหรัฐค.ศ. 1919เจนรัลออฟดิอาร์มีส์[18]
พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลีกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี อิตาลีค.ศ. 1938จอมพลอันดับที่หนึ่งแห่งจักรวรรดิ
เบนิโต มุสโสลินีกองทัพบกราชอาณาจักรอิตาลี อิตาลีค.ศ. 1938จอมพลอันดับที่หนึ่งแห่งจักรวรรดิ
แฮร์มัน เกอริงลุฟท์วัฟเฟอ ไรช์เยอรมันค.ศ. 1940แต่งตั้งโดยฟือเรอร์แห่งเยอรมัน อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ โดยมียศเป็นจอมพลไรช์ (ไรซ์มาร์แชล)
จักรพรรดิเมจิกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่นค.ศ. 1872–1912ได-เก็นซุย
จักรพรรดิไทโชกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่นค.ศ. 1912–1926ได-เก็นซุย
จักรพรรดิโชวะกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น ญี่ปุ่นค.ศ. 1926–1945ได-เก็นซุย
เจ้าชายเจมส์ ดยุกแห่งยอร์กสงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สาม อังกฤษค.ศ. 1673
เจ้าชายเยิร์นแห่งเดนมาร์กกองทัพบกสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ค.ศ. 1702
ปิด

ยศทหาร

ดูเพิ่ม

เชิงอรรถ

  1. Chiang Kai-shek was a 特級上將 ("general special class") of the Republic of China, cf. 特級上將授任條例
  2. The Napoleonic Marshal of France Jean Baptiste Bernadotte, Prince of Ponte Corvo, was elected Crown Prince of Sweden by the Riksdag of the Estates and King Charles XIII in 1810. Given his exalted French military rank, the rank of generalissimus was likely granted him in order to give him precedence over "mere" Swedish field marshals. Once he became King of Sweden and Norway in 1818, the generalissimus rank became superfluous.

อ้างอิง

Loading related searches...

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.