จักรวรรดิกาสนาวิยะห์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จักรวรรดิกาสนาวิยะห์

กาสนาวิยะห์ (เปอร์เซีย: غزنویان, อังกฤษ: Ghaznavids) เป็นราชวงศ์อิสลาม และเปอร์เชียของชนเตอร์กิกมามลุค[1] ผู้รุ่งเรืองระหว่าง ค.ศ. 975 จนถึง ค.ศ. 1187 และปกครองส่วนใหญ่ของเปอร์เชีย, ทรานสอ็อกซาเนียและทางตอนเหนือของอนุทวีปอินเดีย[2][3][4] จักรวรรดิกาสนาวิยะห์มีศูนย์กลางอยู่ที่กาสนีที่ตั้งอยู่ในอัฟกานิสถานปัจจุบัน การที่มีอิทธิพลทั้งทางการเมืองและวัฒนธรรมจากอาณาจักรก่อนหน้านั้น - จักรวรรดิซามานิยะห์ - กาสนาวิยะห์เตอร์กิกจึงกลายมาเป็นเปอร์เชีย[2][4][5][6][7][8][9]

ข้อมูลเบื้องต้น กาสนาวิยะห์غزنویانGhaznavian, สถานะ ...
กาสนาวิยะห์
غزنویان
Ghaznavian

ค.ศ. 963ค.ศ. 1187
ธงชาติกาสนาวิยะห์
ธงชาติ
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงกาสนี (จนถึง ค.ศ. 1151)
ลาฮอร์ (ตั้งแต่ ค.ศ. 1151)
ศาสนา
ซุนนีย์
การปกครองจักรวรรดิ
ชาห์ 
Alptigin
Khusrau Malik
ยุคประวัติศาสตร์ยุคกลาง
 ก่อตั้ง
ค.ศ. 963
 ยึดโดยจักรวรรดิกอร์
ค.ศ. 1187 ค.ศ. 1187
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิไบยิด
จักรวรรดิเซลจุค
จักรวรรดิกอร์
ปิด
ข้อมูลเบื้องต้น ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่, กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย ...
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
ก่อน อิสลาม
ก่อนคริสต์ศักราช
ก่อนประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมก่อนเอลาไมท์3200–2800
จักรวรรดิเอลาไมท์2800–550
แหล่งโบราณคดีบัคเตรีย-มาร์เกียนา2200–1700
ราชอาณาจักรมานไนศตวรรษที่ 10-7
จักรวรรดิมีเดีย728–550
จักรวรรดิอคีเมนียะห์550–330
จักรวรรดิซิลูซิด330–150
ราชอาณาจักรกรีก-บัคเตรีย250-125
จักรวรรดิพาร์เธีย248–ค.ศ.  224
หลังคริสต์ศักราช
จักรวรรดิกุษาณะ30–275
จักรวรรดิซาสซานิยะห์224–651
จักรวรรดิเฮพธาไลท์425–557
เฮพธาไลท์-กุษาณะ565–670
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์975–1187
จักรวรรดิกอร์1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่
สสซ = สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต
จักรวรรดิดุรรานี1747–1823
เอมิเรตอัฟกานิสถาน1823–1929
อิทธิพลของบริติชและรัสเซีย1826–1919
อิสรภาพและสงครามกลางเมือง1919–1929
สมัยปกครองของมุฮัมมัดเมดไซ1929–1973
สาธารณรัฐอัฟกานิสถาน1973–1978
สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน1978–1992
ประวัติศาสตร์อัฟกานิสถานสมัยปัจจุบันตั้งแต่ 1992
ลำดับเหตุการณ์
อาณาจักรข่านแห่งคอเคซัส1722–1828
ภายใต้การปกครองของรัสเซีย1828–1917
สาธารณรัฐประชาธิปไตย1918–1920
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต1920–1991
สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานตั้งแต่ 1991
ราชวงศ์ซานด์1750–1794
ราชวงศ์กอญัร1781–1925
ราชวงศ์ปาห์ลาวี1925–1979
การปฏิวัติอิหร่าน1979
รัฐบาลชั่วคราว1979
สาธารณรัฐอิสลามอิหร่านตั้งแต่ 1979
อีรักออตโตมัน1632–1919
กษัตริย์ฮาชิไมท์1920–1958
การปฏิวัติและสาธารณรัฐ1958–2003
สาธารณรัฐอิรักตั้งแต่ 2004
เอมิเรตบูคารา1785–1920
สาธารณรัฐประชาชนโซเวียตบุฮารา / อุซเบก1920–1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอิสระทาจิก1929
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทาจิก1929–1991
สาธารณรัฐทาจิกิสถานตั้งแต่ 1991
ปิด

ราชวงศ์ก่อตั้งโดยเซบุค ทิจิน (en:Sebük Tigin) หลังจากที่ได้รับดินแดนที่มีศูนย์กลางที่กาสนีจากพ่อตาอัลฟ์ ทิจิน (en:Alp-Tegin) ผู้ที่แยกตัวมาจากสุลต่านของราชวงศ์ซามานิยะห์[10] พระราชโอรสของพระองค์มาห์มุดแห่งกาสนี (Mahmud of Ghazni) ขยายดินแดนของจักรวรรดิที่ครอบคลุมตั้งแต่แม่น้ำอ็อกซัสไปจนถึงหุบเขาสินธุ และ มหาสมุทรอินเดีย ทางด้านตะวันตกไปจนจรดราวี และฮามาดาน เมื่อมาถึงรัชสมัยของมาซุดที่ 1 แห่งกาสนี (Mas'ud I of Ghazni) กาสนาวิยะห์ก็สูญเสียดินแดนไปเป็นอันมาก ทางด้านตะวันตกเสียให้แก่เซลจุค ที่ทำให้ลำบากต่อการครอบครองอัฟกานิสถาน, บาโลคิสถาน และ ปัญจาบ ในปี ค.ศ. 1151 สุลต่านบาห์รัมชาห์ก็เสียกาสนีแก่ อลาอุดดิน ฮุสเซนแห่งจักรวรรดิกอร์จนต้องย้ายเมืองหลวงไปอยู่ที่ลาฮอร์จนกระทั่งจักรวรรดิถูกยึดโดยจักรวรรดิกอร์ในปี ค.ศ. 1186.

ประวัติศาสตร์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งที่มา

อ่านเพิ่มเติม

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.