สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก (อังกฤษ: Uzbek Soviet Socialist Republic; อุซเบก: Ўзбекистон Совет Социалистик Республикаси, O'zbekiston Sovet Sotsialistik Respublikasi; รัสเซีย: Узбе́кская Сове́тская Социалисти́ческая Респу́блика) เป็นหนึ่งในสาธารณรัฐสิบห้าแห่งที่ประกอบกันเป็นสหภาพโซเวียต ได้รับการจัดตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1924 และในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1991 ได้กลายเป็นรัฐเอกราชโดยเปลี่ยนชื่อประเทศเป็น "สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน"
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบก Узбекская Советская Социалистическая Республика (รัสเซีย) Ўзбекистон Совет Социалистик Республикаси (อุซเบก) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1924–1991 | |||||||||||||
ที่ตั้งของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอุซเบกภายในสหภาพโซเวียต | |||||||||||||
เมืองหลวง | ซามาร์กันต์ (1924-1930) ทาชเคนต์ (1930-1991) | ||||||||||||
ภาษาทั่วไป | ภาษาอุซเบกและภาษารัสเซีย | ||||||||||||
การปกครอง | รัฐเดี่ยว ลัทธิมากซ์-เลนิน รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต (1924–1990) รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี (1990–1991) | ||||||||||||
เลขาธิการคณะกรรมการกลาง | |||||||||||||
• 1925-1927 (คนแรก) | วลาดีมีร์ อีวานอฟ | ||||||||||||
• 1989-1991 (คนสุดท้าย) | อิสลาม คารีมอฟ | ||||||||||||
หัวหน้ารัฐบาล | |||||||||||||
• 1924-1937 (คนแรก) | ไฟซุลลา โคจาเยฟ | ||||||||||||
• 1990-1990 (คนสุดท้าย) | ชูครุลโล มีร์ไซดอฟ | ||||||||||||
ประมุขแห่งรัฐ | |||||||||||||
สภานิติบัญญัติ | รัฐสภาโซเวียต | ||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||
• ก่อตั้ง | 27 ตุลาคม 1924 | ||||||||||||
• สิ้นสุด | 25 ธันวาคม 1991 | ||||||||||||
พื้นที่ | |||||||||||||
1989 | 447,400 ตารางกิโลเมตร (172,700 ตารางไมล์) | ||||||||||||
ประชากร | |||||||||||||
• 1989 | 19906000 | ||||||||||||
รหัสโทรศัพท์ | 7 36/37/436 | ||||||||||||
|
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.