สถานีบางโพ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีบางโพ (อังกฤษ: Bang Pho Station, รหัส BL09) เป็นสถานีรถไฟฟ้าแบบยกระดับ ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ตั้งอยู่บริเวณแยกบางโพ จุดตัดของถนนประชาราษฎร์สาย 1 และถนนประชาราษฎร์สาย 2 โดยจะเป็นสถานีสุดท้ายของฝั่งพระนคร ก่อนข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปฝั่งธนบุรีต่อไป
บางโพ BL09 Bang Pho | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
สถานีมองจากถนนประชาราษฎร์สาย 2 | |||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนประชาราษฎร์ สาย 2 เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
พิกัด | 13.8064°N 100.5209°E | ||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BEM) | ||||||||||
สาย | สายเฉลิมรัชมงคล | ||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | ท่าเรือบางโพ | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | BL09 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 4 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1] | ||||||||||
ผู้โดยสาร | |||||||||||
2564 | 914,603 | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
| |||||||||||
|
ถนนประชาราษฎร์ สาย 2 บริเวณสี่แยกบางโพ (จุดตัดถนนประชาราษฎร์ สาย 2 และประชาราษฎร์ สาย 1) ไปจนถึงบริเวณด้านหน้าโรงเรียนทหารพลาธิการ กรมพลาธิการทหารบก ในพื้นที่แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร
U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 2 | สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า ท่าพระ | |
ชานชาลา 1 | สายสีน้ำเงิน มุ่งหน้า หลักสอง (ผ่าน บางซื่อ) | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก 1-4, ศูนย์บริการผู้โดยสารและนักท่องเที่ยว, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า ทางเดินเชื่อมเกตเวย์ แอท บางซื่อ |
G ระดับถนน |
- | ป้ายรถประจำทาง, ถนนประชาราษฎร์ สาย 1, ถนนประชาราษฎร์ สาย 2, เขตบางซื่อ, ท่าบางโพ |
ใช้สีน้ำเงินตกแต่งบริเวณเสาสถานี, ประตูกั้นชานชาลา, ทางขึ้น-ลงสถานี และป้ายบอกทางต่างๆ ในสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีในเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน ส่วนหลังคาใช้สีเทาเพื่อสื่อว่าเป็นสถานีรายทาง
เป็นสถานีลอยฟ้า เป็นชานชาลาแบบข้าง (Station with Side Platform) มีประตูกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง (Half Height Platform Screen Doors : HHPSDs)
แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย
ปลายทาง | วัน | ขบวนแรก | ขบวนสุดท้าย | |||
---|---|---|---|---|---|---|
สายเฉลิมรัชมงคล[2] | ||||||
ชานชาลาที่ 1 | ||||||
BL38 | หลักสอง (ผ่านบางซื่อ) | จันทร์ - ศุกร์ | 05:54 | 23:29 | ||
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ | 05:57 | 23:29 | ||||
ขบวนสุดท้ายเชื่อมต่อสายสีม่วง | - | 23:19 | ||||
ชานชาลาที่ 2 | ||||||
BL01 | ท่าพระ | จันทร์ - ศุกร์ | 05:58 | 00:09 | ||
เสาร์ - อาทิตย์ นักขัตฤกษ์ | 06:01 | 00:09 | ||||
สายที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
5 (1) | สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ | สะพานพุทธ (จักรวรรดิ์) | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ขสมก. | |
32 (2-5) (1) | ปากเกร็ด | วัดโพธิ์ | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||
49 (2-43) (1) | สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ | สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 2.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง |
||
117 (2-47) (2) | ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย | ท่าน้ำนนทบุรี | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง |
สายที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
5 (1) | สถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์ | สะพานพุทธ (จักรวรรดิ์) | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ขสมก. | |
66 (2-12) (3) | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ปิ่นเกล้า) | ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง 2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) |
||
2-2 (2) | ปากเกร็ด | ท่าน้ำสี่พระยา | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 2.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.