ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้ (อังกฤษ: European/South American Cup) หรือ อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ (Intercontinental Cup)[1][2][3] ได้เริ่มแข่งขันกันเมื่อปี ค.ศ. 1960 เป็นรายการการแข่งขันฟุตบอลที่จัดขึ้นโดยสหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) โดยจะเป็นการพบกันระหว่างทีมแชมป์ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจากทวีปยุโรป กับทีมแชมป์โกปาลิเบร์ตาโดเรสจากทวีปอเมริกาใต้ ในช่วงแรกปี ค.ศ. 1960-1979 ระบบการแข่งขันของรายการนี้จะเป็นแบบ 2 นัด เหย้า-เยือน (ในช่วงปี ค.ศ. 1960-1968 จะตัดสินด้วยคะแนนจากการพบกันสองนัด ตามแบบที่คอนเมบอลใช้กันถึงปี ค.ศ. 1987 จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1969-1979 จึงเปลี่ยนมาใช้วิธีการรวมผลสกอร์ 2 นัด ด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือนแบบยุโรปแทน) จากนั้นตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980-2004 ได้เปลี่ยนมาเป็นการแข่งขันแบบนัดเดียวที่ประเทศญี่ปุ่น โดยมีสปอนเซอร์สนับสนุนหลักคือ โตโยต้า คนส่วนใหญ่จึงเปลี่ยนมาเรียกชื่อการแข่งขันรายการนี้ว่า โตโยต้าคัพ ต่อมาในปี ค.ศ. 2005 อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพได้ถูกแทนที่โดยฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพ
ข้อมูลเบื้องต้น ผู้จัด, ก่อตั้ง ...
ปิด
หมายเหตุ
|
การแข่งขันชนะในช่วงหลังต่อเวลาพิเศษ |
|
การแข่งขันชนะในช่วงการดวลลูกโทษ |
‡ |
การแข่งขันแบบเพลย์ออฟที่ทีมถูกผูกคะแนน (1 ชนะ และ 1 แพ้แต่ละครั้ง) |
# |
ยุโรป ทีมตัวแทนแข่งขันแทนที่แชมป์ยุโรป |
ข้อมูลเพิ่มเติม ปี, ประเทศ ...
ปี |
ประเทศ |
ชนะเลิศ |
ผลคะแนน |
รองชนะเลิศ |
ประเทศ |
สนาม |
เมือง |
อ้างอิง |
1960 |
สเปน |
เรอัลมาดริด |
0–0 |
เปญญาโรล |
อุรุกวัย |
เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
[4] |
5–1 |
ซานเตียโก เบร์นาเบว |
มาดริด, สเปน |
1961 |
อุรุกวัย |
เปญญาโรล |
0–1 |
ไบฟีกา |
โปรตุเกส |
อิชตาดีอูดาลุช |
ลิสบอน, โปรตุเกส |
[5] |
5–0 |
เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
‡2–1‡ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
1962 |
บราซิล |
ซังตุส |
3–2 |
ไบฟีกา |
โปรตุเกส |
มารากานัง |
รีโอเดจาเนโร, บราซิล |
[6] |
5–2 |
อิชตาดีอูดาลุช |
ลิสบอน, โปรตุเกส |
1963 |
บราซิล |
ซังตุส |
2–4 |
เอซี มิลาน |
อิตาลี |
ซานซีโร |
มิลาน, อิตาลี |
[7] |
4–2 |
มารากานัง |
รีโอเดจาเนโร, บราซิล |
‡1–0‡ |
1964 |
อิตาลี |
อินเตอร์มิลาน |
0–1 |
อินเดเปนดิเอนเต |
อาร์เจนตินา |
ลาโดเบลบิเซรา |
อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา |
[8] |
2–0 |
ซานซีโร |
มิลาน, อิตาลี |
‡1–0 (ต่อเวลา)‡ |
ซานเตียโก เบร์นาเบว |
มาดริด, สเปน |
1965 |
อิตาลี |
อินเตอร์มิลาน |
3–0 |
อินเดเปนดิเอนเต |
อาร์เจนตินา |
ซานซีโร |
มิลาน, อิตาลี |
[9] |
0–0 |
ลาโดเบลบิเซรา |
อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา |
1966 |
อุรุกวัย |
เปญญาโรล |
2–0 |
เรอัลมาดริด |
สเปน |
เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
[10] |
2–0 |
ซานเตียโก เบร์นาเบว |
มาดริด, สเปน |
1967 |
อาร์เจนตินา |
ราซินกลุบ |
0–1 |
เซลติก |
สกอตแลนด์ |
แฮมป์เดินพาร์ก |
กลาสโกว์, สกอตแลนด์ |
[11] |
2–1 |
เอลซิลินโดร |
อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา |
‡1–0‡ |
เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
1968 |
อาร์เจนตินา |
เอสตูเดียนเตส |
1–0 |
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
อังกฤษ |
ลาบอมโบเนรา |
บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา |
[12] |
1–1 |
โอลด์แทรฟฟอร์ด |
แมนเชสเตอร์, อังกฤษ |
1969 |
อิตาลี |
เอซี มิลาน |
3–0 |
เอสตูเดียนเตส |
อาร์เจนตินา |
ซานซีโร |
มิลาน, อิตาลี |
[13] |
1–2 |
ลาบอมโบเนรา |
บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา |
1970 |
เนเธอร์แลนด์ |
ไฟเยอโนร์ด |
2–2 |
เอสตูเดียนเตส |
อาร์เจนตินา |
ลาบอมโบเนรา |
บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา |
[14] |
1–0 |
เดอเกยป์ |
ร็อตเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์ |
1971 |
อุรุกวัย |
นาซิโอนัล |
1–1 |
ปานาซีไนโกส#1 |
กรีซ |
กาไรสกากิส |
ไพรีอัส, กรีซ |
[15] |
2–1 |
กรีซ |
เอสตาดิโอเซนเตนาริโอ |
มอนเตวิเดโอ, อุรุกวัย |
1972 |
เนเธอร์แลนด์ |
อายักซ์ |
1–1 |
อินเดเปนดิเอนเต |
อาร์เจนตินา |
ลาโดเบลบิเซรา |
อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา |
[16] |
3–0 |
โอลิมปิก (อัมสเตอร์ดัม) |
อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์ |
1973 |
อาร์เจนตินา |
อินเดเปนดิเอนเต |
1–0 |
ยูเวนตุส#2 |
อิตาลี |
สตาดีโอโอลิมปีโก |
โรม, อิตาลี |
[17] |
ไม่มีการแข่งขันนัดที่สอง อินเดเปนดิเอนเต เป็นทีมชนะเลิศ |
1974 |
สเปน |
อัตเลติโกเดมาดริด#3 |
0–1 |
อินเดเปนดิเอนเต |
อาร์เจนตินา |
ลาโดเบลบิเซรา |
อาเบยาเนดา, อาร์เจนตินา |
[18] |
2–0 |
บิเซนเต กัลเดรอน |
มาดริด, สเปน |
1975 |
ไบเอิร์นมิวนิก และ อินเดเปนดิเอนเต ไม่มีวันเวลากำหนดการแข่งขันที่พบกันได้ |
[19] |
1976 |
เยอรมนีตะวันตก |
ไบเอิร์นมิวนิก |
2–0 |
กรูเซย์รู |
บราซิล |
โอลึมพีอาชตาดีอ็อน |
มิวนิก, เยอรมนีตะวันตก |
[20] |
0–0 |
มีเนย์เรา |
เบโลโอรีซอนชี, บราซิล |
1977 |
อาร์เจนตินา |
โบกายูนิออร์ส |
2–2 |
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค#4 |
เยอรมนีตะวันตก |
ลาบอมโบเนรา |
บัวโนสไอเรส, อาร์เจนตินา |
[21] |
3–0 |
วิลท์พาร์คชตาดีอ็อน |
คาลส์รูเออ, เยอรมนีตะวันตก |
1978 |
ลิเวอร์พูล และ โบกายูนิออร์ส ปฏิเสธที่จะแข่งขันกัน |
[19] |
1979 |
ปารากวัย |
โอลิมเปีย |
1–0 |
มัลเมอ เอฟเอฟ#5 |
สวีเดน |
มัลเมอ |
มัลเมอ, สวีเดน |
[22] |
2–1 |
เดเฟนโซเรสเดลชาโก |
อาซุนซีออน, ปารากวัย |
1980 |
อุรุกวัย |
นาซิโอนัล |
1–0 |
นอตทิงแฮมฟอเรสต์ |
อังกฤษ |
โอลิมปิก (โตเกียว) | โตเกียว, ญี่ปุ่น |
[23] |
1981 |
บราซิล |
ฟลาเม็งกู |
3–0 |
ลิเวอร์พูล |
[24] |
1982 |
อุรุกวัย |
เปญญาโรล |
2–0 |
แอสตันวิลลา |
[25] |
1983 |
บราซิล |
เกรมียู |
2–1 (ต่อเวลา) |
ฮัมบวร์ค |
เยอรมนีตะวันตก |
[26] |
1984 |
อาร์เจนตินา |
อินเดเปนดิเอนเต |
1–0 |
ลิเวอร์พูล |
อังกฤษ |
[27] |
1985 |
อิตาลี |
ยูเวนตุส |
2–2 (ต่อเวลา) 4–2 (ลูกโทษ) |
อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส |
อาร์เจนตินา |
[28] |
1986 |
อาร์เจนตินา |
ริเบร์เปลต |
1–0 |
เรดสตาร์ เบลเกรด |
โรมาเนีย |
[29] |
1987 |
โปรตุเกส |
โปร์ตู |
2–1 (ต่อเวลา) |
เปญญาโรล |
อุรุกวัย |
[30] |
1988 |
อุรุกวัย |
นาซิโอนัล |
2–2 (ต่อเวลา) 7–6 (ลูกโทษ) |
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน |
เนเธอร์แลนด์ |
[31] |
1989 |
อิตาลี |
เอซี มิลาน |
1–0 (ต่อเวลา) |
อัตเลติโกนาซิโอนัล |
โคลอมเบีย |
[32] |
1990 |
อิตาลี |
3–0 |
โอลิมเปีย |
ปารากวัย |
[33] |
1991 |
ยูโกสลาเวีย |
เรดสตาร์ เบลเกรด |
3–0 |
โกโล-โกโล |
ชิลี |
[34] |
1992 |
บราซิล |
เซาเปาลู |
2–1 |
บาร์เซโลนา |
สเปน |
[35] |
1993 |
บราซิล |
เซาเปาลู |
3–2 |
เอซี มิลาน#6 |
อิตาลี |
[36] |
1994 |
อาร์เจนตินา |
เบเลซ ซาร์สฟิลด์ |
2–0 |
เอซี มิลาน |
[37] |
1995 |
เนเธอร์แลนด์ |
อายักซ์ |
0–0 (ต่อเวลา) 4–3 (ลูกโทษ) |
อาแลเกร็งซี |
บราซิล |
[38] |
1996 |
อิตาลี |
ยูเวนตุส |
1–0 |
ริเบร์เปลต |
อาร์เจนตินา |
[39] |
1997 |
เยอรมนี |
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
2–0 |
กรูเซย์รู |
บราซิล |
[40] |
1998 |
สเปน |
เรอัลมาดริด |
2–1 |
วัชกู ดา กามา |
[41] |
1999 |
อังกฤษ |
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
1–0 |
ปัลเมย์รัส |
[42] |
2000 |
อาร์เจนตินา |
โบกายูนิออร์ส |
2–1 |
เรอัลมาดริด |
สเปน |
[43] |
2001 |
เยอรมนี |
ไบเอิร์นมิวนิก |
1–0 (ต่อเวลา) |
โบกายูนิออร์ส |
อาร์เจนตินา |
[44] |
2002 |
สเปน |
เรอัลมาดริด |
2–0 |
โอลิมเปีย |
ปารากวัย |
อินเตอร์เนชันแนลสเตเดียม | โยโกฮามะ, ญี่ปุ่น |
[45] |
2003 |
อาร์เจนตินา |
โบกายูนิออร์ส |
1–1 (ต่อเวลา) 3–1 (ลูกโทษ) |
เอซี มิลาน |
อิตาลี |
[46] |
2004 |
โปรตุเกส |
โปร์ตู |
0–0 (ต่อเวลา) 8–7 (ลูกโทษ) |
ออนเซกัลดัส |
โคลอมเบีย |
[47] |
ปิด
ชนะเลิศ (จำแนกตามสโมสร)
ข้อมูลเพิ่มเติม สโมสร, ชนะเลิศ ...
สโมสร |
ชนะเลิศ |
รองชนะเลิศ |
ปีชนะเลิศ |
ปีรองชนะเลิศ |
เอซี มิลาน |
3 |
4 |
1969, 1989, 1990 |
1963, 1993, 1994, 2003 |
เปญญาโรล |
3 |
2 |
1961, 1966, 1982 |
1960, 1987 |
เรอัลมาดริด |
3 |
2 |
1960, 1998, 2002 |
1966, 2000 |
โบกายูนิออร์ส |
3 |
1 |
1977, 2000, 2003 |
2001 |
นาซิโอนัล |
3 |
— |
1971, 1980, 1988 |
— |
อินเดเปนดิเอนเต |
2 |
4 |
1973, 1984 |
1964, 1965, 1972, 1974 |
ยูเวนตุส |
2 |
1 |
1985, 1996 |
1973 |
ซังตุส |
2 |
— |
1962, 1963 |
— |
อินเตอร์มิลาน |
2 |
— |
1964, 1965 |
— |
เซาเปาลู |
2 |
— |
1992, 1993 |
— |
อายักซ์ |
2 |
— |
1972, 1995 |
— |
ไบเอิร์นมิวนิก |
2 |
— |
1976, 2001 |
— |
โปร์ตู |
2 |
— |
1987, 2004 |
— |
เอสตูเดียนเตส |
1 |
2 |
1968 |
1969, 1970 |
โอลิมเปีย |
1 |
2 |
1979 |
1990, 2002 |
อาแลเกร็งซี |
1 |
1 |
1983 |
1995 |
ริเบร์เปลต |
1 |
1 |
1986 |
1996 |
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
1 |
1 |
1999 |
1968 |
ราซินกลุบ |
1 |
— |
1967 |
— |
ไฟเยอโนร์ด |
1 |
— |
1970 |
— |
อัตเลติโกเดมาดริด |
1 |
— |
1974 |
— |
ฟลาเม็งกู |
1 |
— |
1981 |
— |
เรดสตาร์ เบลเกรด |
1 |
— |
1991 |
— |
เบเลซ ซาร์สฟิลด์ |
1 |
— |
1994 |
— |
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
1 |
— |
1997 |
— |
ไบฟีกา |
— |
2 |
— |
1961, 1962 |
ลิเวอร์พูล |
— |
2 |
— |
1981, 1984 |
กรูเซย์รู |
— |
2 |
— |
1976, 1997 |
เซลติก |
— |
1 |
— |
1967 |
ปานาซีไนโกส |
— |
1 |
— |
1971 |
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค |
— |
1 |
— |
1977 |
มัลเมอ เอฟเอฟ |
— |
1 |
— |
1979 |
นอตทิงแฮมฟอเรสต์ |
— |
1 |
— |
1980 |
แอสตันวิลลา |
— |
1 |
— |
1982 |
ฮัมบัวร์เกอร์ เอ็สเฟา |
— |
1 |
— |
1983 |
อาร์เฆนติโนสยูนิออร์ส |
— |
1 |
— |
1985 |
สเตอัวบูคูเรสตี |
— |
1 |
— |
1986 |
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน |
— |
1 |
— |
1988 |
อัตเลติโกนาซิโอนัล |
— |
1 |
— |
1989 |
โกโล-โกโล |
— |
1 |
— |
1991 |
บาร์เซโลนา |
— |
1 |
— |
1992 |
วัชกู ดา กามา |
— |
1 |
— |
1998 |
ปัลเมย์รัส |
— |
1 |
— |
1999 |
ออนเซกัลดัส |
— |
1 |
— |
2004 |
ปิด
ชนะเลิศ (จำแนกตามชาติ)
ข้อมูลเพิ่มเติม ชาติ, ชนะเลิศ ...
ชาติ |
ชนะเลิศ |
รองชนะเลิศ |
ทีมชนะเลิศ |
ปีที่ชนะเลิศ |
อาร์เจนตินา |
9 |
9 |
โบกายูนิออร์ส, อินเดเปนดิเอนเต, เอสตูเดียนเตส, ริเบร์เปลต, ราซินกลุบ, เบเลซ ซาร์สฟิลด์ |
1967, 1968, 1973, 1977, 1984, 1986, 1994, 2000, 2003 |
อิตาลี |
7 |
5 |
เอซี มิลาน, ยูเวนตุส, อินเตอร์มิลาน |
1964, 1965, 1969, 1985, 1989, 1990, 1996 |
บราซิล |
6 |
5 |
ซังตุส, เซาเปาลู, อาแลเกร็งซี, ฟลาเม็งกู |
1962, 1963, 1981, 1983, 1992, 1993 |
อุรุกวัย |
6 |
2 |
เปญญาโรล, นาซิโอนัล |
1961, 1966, 1971, 1980, 1982, 1988 |
สเปน |
4 |
3 |
เรอัลมาดริด, อัตเลติโกเดมาดริด |
1960, 1974, 1998, 2002 |
เยอรมนี |
3 |
2 |
ไบเอิร์นมิวนิก, โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
1976, 1997, 2001 |
เนเธอร์แลนด์ |
3 |
1 |
อายักซ์, ไฟเยอโนร์ด |
1970, 1972, 1995 |
โปรตุเกส |
2 |
2 |
โปร์ตู |
1987, 2004 |
อังกฤษ |
1 |
5 |
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
1999 |
ปารากวัย |
1 |
2 |
โอลิมเปีย |
1979 |
ยูโกสลาเวีย |
1 |
— |
เรดสตาร์ เบลเกรด |
1991 |
โคลอมเบีย |
— |
2 |
— |
— |
สกอตแลนด์ |
— |
1 |
— |
— |
กรีซ |
— |
1 |
— |
— |
สวีเดน |
— |
1 |
— |
— |
โรมาเนีย |
— |
1 |
— |
— |
ชิลี |
— |
1 |
— |
— |
ปิด
- The winners of UEFA Champions League undertake to part in the following competitions:
a) The UEFA Super cup, which is held at the start of each new season.
b) Intercontinental competitions arranged by UEFA and other confederations.
– Clubs are not authorised to represent UEFA or the UEFA Champions
League without UEFA's prior written approval. cfr. "We care about football – Regulation of the UEFA Champions League 2003/04" (PDF). Union of European Football Associations. p. 2. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-08-16. สืบค้นเมื่อ 2019-10-10.