เคียฟ
เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศยูเครน จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เคียฟ (อังกฤษ: Kiev, ออกเสียง: /ˈkiːɛv/;[10] หรือ Kyiv, ออกเสียง: /ˈkiːjɪv/,[11] /kiːv/) หรือ กือยิว (ยูเครน: Ки́їв, ออกเสียง: [ˈkɪjiu̯] ) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครน ตั้งอยู่ภาคกลางตอนเหนือของประเทศ ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2021 เมืองนี้มีประชากร 2,962,180 คน[12] ทำให้เคียฟเป็นเมืองที่มีประชากรมากอันดับที่ 7 ในทวีปยุโรป[13]
เคียฟ | |
---|---|
เมืองหลวงและนครสถานะพิเศษ | |
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: วังมารียินสกืย, คีฟแปแชร์สก์ลาวรา, อาคารมหาวิทยาลัยแดง, บ้านคิเมียรา, อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย, จัตุรัสไมดาน | |
สมญา: มารดาแห่งเมืองของรุส[1] | |
เพลง: Yak tebe ne liubyty, Kyieve mii! | |
พิกัด: 50°27′00″N 30°31′24″E | |
ประเทศ | ยูเครน |
เทศบาล | เทศบาลนครเคียฟ |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 482 (ทางการ)[2] |
ตั้งชื่อจาก | กึย |
สภานคร | สภานครเคียฟ |
Raions | รายชื่อทั้ง 10
|
การปกครอง | |
• นายกและหัวหน้าเขตบริหารภาครัฐของนคร | Vitali Klitschko[3][4] |
พื้นที่ | |
• เมืองหลวงและนครสถานะพิเศษ | 839 ตร.กม. (324 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 179 เมตร (587 ฟุต) |
ประชากร (1 มกราคม ค.ศ. 2021) | |
• เมืองหลวงและนครสถานะพิเศษ | 2,962,180[5] คน |
• ความหนาแน่น | 3,299 คน/ตร.กม. (8,540 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 3,475,000 (1 มกราคม ค.ศ. 2,021) [6] คน |
เดมะนิม | Kyivan,[7] Kievan[8] |
จีดีพี (เฉลี่ย) (2018)[9] | |
• รวม | ₴833 พันล้านฮริฟเนีย (25 พันล้านยูโร) |
• ต่อหัว | 283,000 ฮริฟเนีย (8,500 ยูโร) |
เขตเวลา | UTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก) |
รหัสไปรษณีย์ | 01xxx–04xxx |
รหัสพื้นที่ | +380 44 |
รหัส FIPS | UP12 |
ป้ายทะเบียนรถ | AA, KA (ก่อน ค.ศ. 2004: КА, КВ, КЕ, КН, КІ, KT) |
เว็บไซต์ | kyivcity |
เคียฟเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ การศึกษา และวัฒนธรรมที่สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรปตะวันออก เคียฟยังเป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง สถาบันอุดมศึกษา และสถานที่ทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง นครแห่งนี้มีระบบขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานที่กว้างขวาง ซึ่งรวมไปถึงรถไฟฟ้าใต้ดินเคียฟ
ชื่อของเคียฟมาจากชื่อ กึย (Kyi) ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ผู้ก่อตั้งเมืองตามตำนานซึ่งได้แก่ กึย, ชแชก (Shchek), คอรึว (Khoryv) และลือบิด (Lybid) ซึ่งเป็นพี่น้องกัน
ภูมิอากาศ
ข้อมูลภูมิอากาศของเคียฟ (ค.ศ. 1991–2020, สูงสุด ค.ศ. 1881–ปัจจุบัน) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 11.1 (52) |
17.3 (63.1) |
22.4 (72.3) |
30.2 (86.4) |
33.6 (92.5) |
35.0 (95) |
39.4 (102.9) |
39.3 (102.7) |
33.8 (92.8) |
28.0 (82.4) |
23.2 (73.8) |
14.7 (58.5) |
39.4 (102.9) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | -0.8 (30.6) |
0.7 (33.3) |
6.5 (43.7) |
15.0 (59) |
21.1 (70) |
24.6 (76.3) |
26.5 (79.7) |
25.9 (78.6) |
20.0 (68) |
12.9 (55.2) |
5.3 (41.5) |
0.5 (32.9) |
13.2 (55.8) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | −3.2 (26.2) |
−2.3 (27.9) |
2.5 (36.5) |
10.0 (50) |
15.8 (60.4) |
19.5 (67.1) |
21.3 (70.3) |
20.5 (68.9) |
14.9 (58.8) |
8.6 (47.5) |
2.6 (36.7) |
-1.8 (28.8) |
9.0 (48.2) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | -5.5 (22.1) |
-5.0 (23) |
-0.8 (30.6) |
5.7 (42.3) |
10.9 (51.6) |
14.8 (58.6) |
16.7 (62.1) |
15.7 (60.3) |
10.6 (51.1) |
5.1 (41.2) |
0.4 (32.7) |
-3.9 (25) |
5.4 (41.7) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | -32.9 (-27.2) |
-32.2 (-26) |
-24.9 (-12.8) |
-10.4 (13.3) |
-2.4 (27.7) |
2.4 (36.3) |
5.8 (42.4) |
3.3 (37.9) |
-2.9 (26.8) |
-17.8 (-0) |
-21.9 (-7.4) |
-30.0 (-22) |
−32.9 (−27.2) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 38 (1.5) |
40 (1.57) |
40 (1.57) |
42 (1.65) |
65 (2.56) |
73 (2.87) |
68 (2.68) |
56 (2.2) |
57 (2.24) |
46 (1.81) |
46 (1.81) |
47 (1.85) |
618 (24.33) |
ความชื้นร้อยละ | 82.7 | 80.1 | 74.0 | 64.3 | 62.0 | 67.5 | 68.3 | 66.9 | 73.5 | 77.4 | 84.6 | 85.6 | 73.9 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 8 | 7 | 9 | 13 | 14 | 15 | 14 | 11 | 14 | 12 | 12 | 9 | 138 |
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย | 17 | 17 | 10 | 2 | 0.2 | 0 | 0 | 0 | 0.03 | 2 | 9 | 16 | 73 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 42 | 64 | 112 | 162 | 257 | 273 | 287 | 252 | 189 | 123 | 51 | 31 | 1,843 |
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net,[14] Central Observatory for Geophysics (สูงสุด),[15][16] องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (ความชื้น 1981–2010)[17] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Danish Meteorological Institute (ดวงอาทิตย์, 1931–1960)[18] และ Weather Atlas[19] |
ประชากร
รายงานจากสถิติประชากรทางการ มีผู้อยู่อาศัยในเขตเคียฟ 2,847,200 คนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2013[20]
ประวัติประชากรในอดีต
ปี | ประชากร | ±% |
---|---|---|
10xx | 100,000 | — |
1647 | 15,000 | −85.0% |
1666 | 10,000 | −33.3% |
1763 | 42,000 | +320.0% |
1797 | 19,000 | −54.8% |
1835 | 36,500 | +92.1% |
1845 | 50,000 | +37.0% |
1856 | 56,000 | +12.0% |
1865 | 71,300 | +27.3% |
1874 | 127,500 | +78.8% |
1884 | 154,500 | +21.2% |
1897 | 247,700 | +60.3% |
1905 | 450,000 | +81.7% |
1909 | 468,000 | +4.0% |
1912 | 442,000 | −5.6% |
1914 | 626,300 | +41.7% |
1917 | 430,500 | −31.3% |
1919 | 544,000 | +26.4% |
1922 | 366,000 | −32.7% |
1923 | 413,000 | +12.8% |
1926 | 513,000 | +24.2% |
1930 | 578,000 | +12.7% |
1940 | 930,000 | +60.9% |
1943 | 180,000 | −80.6% |
1956 | 991,000 | +450.6% |
1959 | 1,104,300 | +11.4% |
1965 | 1,367,200 | +23.8% |
1970 | 1,632,000 | +19.4% |
1975 | 1,947,000 | +19.3% |
1980 | 2,191,500 | +12.6% |
1985 | 2,461,000 | +12.3% |
1991 | 2,593,400 | +5.4% |
1996 | 2,637,900 | +1.7% |
2000 | 2,615,300 | −0.9% |
2005 | 2,596,400 | −0.7% |
2010 | 2,786,518 | +7.3% |
2015 | 2,890,432 | +3.7% |
ณ วันที่ 1 มกราคมของทุกปี[21][22] |
เมืองพี่น้อง
สรุป
มุมมอง
เคียฟเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[23]
อังการา ประเทศตุรกี (1993)
อาชกาบัต ประเทศเติร์กเมนิสถาน (2001)
เอเธนส์ ประเทศกรีซ (1996)
บากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน (1997)
ปักกิ่ง ประเทศจีน (1993)
บิชเคก ประเทศคีร์กีซสถาน (1997)
บราซิเลีย ประเทศบราซิล (2000)
บราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย (1969)
บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม (1997)
บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา (2000)
ชิคาโก สหรัฐ (1991)
คีชีเนา ประเทศมอลโดวา (1993)
เอดินบะระ ประเทศสกอตแลนด์ (1989)
ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี (1967)
อาบานา ประเทศคิวบา (1994)
จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย (2005)
กรากุฟ ประเทศโปแลนด์ (1993)
เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น (1971)
ไลพ์ซิช ประเทศเยอรมนี (1956)
ลิมา ประเทศเปรู (2005)
เม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก (1997)
มิวนิก ประเทศเยอรมนี (1989)
อัสตานา ประเทศคาซัคสถาน (1998)
Odense ประเทศเดนมาร์ก (1989)
Osh Region ประเทศคีร์กีซสถาน (2002)
พริทอเรีย ประเทศแอฟริกาใต้ (1993)
รีกา ประเทศลัตเวีย (1998)
ริโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล (2000)
ซันติอาโก ประเทศชิลี (1998)
โซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย (1997)
ซูโจว ประเทศจีน (2005)
ทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย (1994)
ตัมเปเร ประเทศฟินแลนด์ (1954)
ทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน (1998)
ทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย (1999)
ตูลูซ ประเทศฝรั่งเศส (1975)
วิลนีอัส ประเทศลิทัวเนีย (1991)
วอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ (1994)
อู่ฮั่น ประเทศจีน (1990)
อ้างอิง
อ่านเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.