Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลเรือเอก อะดุง พันธุ์เอี่ยม (15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506) เป็นนายทหารเรือชาวไทย เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ เช่น ตุลาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ และกรรมการสภาลูกเสือไทย
อะดุง พันธุ์เอี่ยม | |
---|---|
ผู้บัญชาการทหารเรือ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566 – 30 กันยายน พ.ศ. 2567[a] | |
ก่อนหน้า | พลเรือเอก เชิงชาย ชมเชิงแพทย์ |
ถัดไป | พลเรือเอก จิรพล ว่องวิทย์ |
สมาชิกวุฒิสภา | |
สมาชิกโดยตำแหน่ง 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 – 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2567[b] | |
ก่อนหน้า | พลเรือเอก เชิงชาย ชมเชิงแพทย์ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง ประเทศไทย |
คู่สมรส | กีรตา ศรีภูริรักษ์ (สมรส 2543) |
บุตร | 2 คน |
บุพการี |
|
การศึกษา |
|
ทรัพย์สินสุทธิ | 52 ล้านบาท (พ.ศ. 2567)[1] |
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
รับใช้ | ไทย |
สังกัด | กองทัพเรือไทย |
ประจำการ | พ.ศ. 2530 – พ.ศ. 2567 |
ยศ | พลเรือเอก |
บังคับบัญชา | กองทัพเรือไทย กองเรือยุทธการ |
พล.ร.อ. อะดุง เกิดเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ณ ตำบลปากน้ำ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง
จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น 23 ระดับปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟ้าจากโรงเรียนนายเรือ รุ่นที่ 80 และปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (เกียรตินิยม อันดับ 1)[2]
พล.ร.อ. อะดุง เคยดำรงตำแหน่งสำคัญ ดังนี้
และผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ กระทั่งวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ในที่ประชุมสภากลาโหม ซึ่งที่ประชุมมีมติเลือก พล.ร.อ. อะดุง ผู้บัญชาการกองเรือยุทธการ ขึ้นเป็นผู้บัญชาการทหารเรือสืบต่อจาก พล.ร.อ. เชิงชาย ชมเชิงแพทย์[3] ต่อมาในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2566 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ พล.ร.อ. อะดุง เป็นผู้บัญชาการทหารเรืออย่างเป็นทางการ[4]
พลเรือเอก อะดุง พันธุ์เอี่ยม ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและต่างประเทศ ดังนี้
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.