สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเพชรบูรณ์

จังหวัดเพชรบูรณ์ มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 6 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ข้อมูลเบื้องต้น เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, จำนวนเขต ...
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดเพชรบูรณ์
Thumb
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต6
คะแนนเสียง229,092 (พลังประชารัฐ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งพลังประชารัฐ (6)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ
ปิด

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดเพชรบูรณ์มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)[2]

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งแผนที่จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/12 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 25123 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก และอำเภอหล่มเก่า
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอศรีเทพ
4 คน (2 เขต เขตละ 4 คน)
พ.ศ. 2519· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก และอำเภอหล่มเก่า
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, กิ่งอำเภอศรีเทพ และกิ่งอำเภอบึงสามพัน
พ.ศ. 2522· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอน้ำหนาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอศรีเทพ และกิ่งอำเภอบึงสามพัน
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2526· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอชนแดน และกิ่งอำเภอน้ำหนาว
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน
พ.ศ. 2529· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, กิ่งอำเภอน้ำหนาว, กิ่งอำเภอเขาค้อ และกิ่งอำเภอวังโป่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว, อำเภอเขาค้อ และอำเภอวังโป่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอเขาค้อ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอชนแดน และอำเภอวังโป่ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอบึงสามพัน และอำเภอศรีเทพ
7 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน ส่วนเขต 2 และเขต 3 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลตะเบาะ ตำบลนายม ตำบลระวิง ตำบลห้วยสะแก ตำบลวังชมภู ตำบลบ้านโตก และตำบลป่าเลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลบ้านโภชน์และตำบลเพชรละคร), อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลห้วยสะแก ตำบลนายม ตำบลระวิง และตำบลตะเบาะ) และอำเภอชนแดน (เฉพาะตำบลซับพุทรา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน (ยกเว้นตำบลซับพุทรา) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลวังชมภู)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลฝายนาแซง ตำบลหนองสว่าง ตำบลน้ำเฮี้ย และตำบลท่าอิบุญ) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลป่าเลาและตำบลบ้านโตก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลโคกปรง ตำบลยางสาว ตำบลท่าโรง และตำบลน้ำร้อน) และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลบ้านโภชน์และตำบลเพชรละคร)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลโคกปรง ตำบลยางสาว ตำบลท่าโรง และตำบลน้ำร้อน)
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลฝายนาแซง ตำบลหนองสว่าง ตำบลน้ำเฮี้ย และตำบลท่าอิบุญ)
7 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่) และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลบ่อไทย)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลหล่มสัก ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลวัดป่า ตำบลหนองไขว่ ตำบลปากดุก ตำบลลานบ่า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลบุ่งคล้า ตำบลบ้านไร่ ตำบลช้างตะลูด และตำบลบ้านกลาง) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม ตำบลวังโบสถ์ และตำบลบัววัฒนา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลปากช่อง ตำบลบ้านโสก ตำบลฝายนาแซง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลหนองสว่าง ตำบลห้วยไร่ ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลสักหลง ตำบลน้ำชุน ตำบลท่าอิบุญ และตำบลบ้านหวาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลเพชรละคร ตำบลกองทูล ตำบลวังท่าดี ตำบลบ้านโภชน์ ตำบลท่าแดง และตำบลท่าด้วง) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลโคกปรง ตำบลน้ำร้อน ตำบลบึงกระจับ และตำบลยางสาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลโคกปรง ตำบลน้ำร้อน ตำบลบึงกระจับ และตำบลยางสาว)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์, อำเภอหล่มสัก, อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอเขาค้อ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอหนองไผ่, อำเภอวิเชียรบุรี, อำเภอชนแดน, อำเภอวังโป่ง, อำเภอศรีเทพ และอำเภอบึงสามพัน
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลหล่มสัก ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลตาลเดี่ยว ตำบลบ้านกลาง ตำบลวัดป่า ตำบลช้างตะลูด ตำบลหนองไขว่ ตำบลบ้านไร่ ตำบลลานบ่า ตำบลปากดุก และตำบลบุ่งคล้า) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลห้วยใหญ่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอหล่มเก่า, อำเภอน้ำหนาว และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลปากช่อง ตำบลบ้านโสก ตำบลฝายนาแซง ตำบลบ้านติ้ว ตำบลหนองสว่าง ตำบลห้วยไร่ ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลสักหลง ตำบลน้ำชุน ตำบลท่าอิบุญ และตำบลบ้านหวาย)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอชนแดน, อำเภอวังโป่ง และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม และตำบลบัววัฒนา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลหนองไผ่ ตำบลนาเฉลียง ตำบลห้วยโป่ง ตำบลยางงาม และตำบลบัววัฒนา) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลซับน้อย ตำบลโคกปรง ตำบลซับสมบูรณ์ และตำบลบึงกระจับ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลซับน้อย ตำบลโคกปรง ตำบลซับสมบูรณ์ และตำบลบึงกระจับ)
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลป่าเลา ตำบลสะเดียง ตำบลในเมือง ตำบลดงมูลเหล็ก ตำบลบ้านโคก ตำบลห้วยใหญ่ ตำบลนางั่ว และตำบลท่าพล) และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลบุ่งคล้า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลน้ำชุน ตำบลน้ำก้อ และตำบลหนองไขว่)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลบุ่งคล้า ตำบลบุ่งน้ำเต้า ตำบลน้ำชุน ตำบลน้ำก้อ และตำบลหนองไขว่)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลห้วยสะแก ตำบลวังชมภู ตำบลบ้านโตก ตำบลชอนไพร ตำบลนาป่า ตำบลตะเบาะ ตำบลน้ำร้อน และตำบลนายม)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่, อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลระวิง) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก)
Thumb5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (ยกเว้นตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลป่าเลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอน้ำหนาว, อำเภอหล่มสัก (ยกเว้นตำบลท่าอิบุญ ตำบลสักหลง ตำบลหนองสว่าง ตำบลฝายนาแซง ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลน้ำชุน ตำบลบุ่งน้ำเต้า และตำบลบุ่งคล้า) และอำเภอเมืองเพชรบูรณ์ (เฉพาะตำบลท่าพล ตำบลนางั่ว และตำบลป่าเลา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเขาค้อ, อำเภอหล่มเก่า และอำเภอหล่มสัก (เฉพาะตำบลท่าอิบุญ ตำบลสักหลง ตำบลหนองสว่าง ตำบลฝายนาแซง ตำบลน้ำเฮี้ย ตำบลน้ำก้อ ตำบลน้ำชุน ตำบลบุ่งน้ำเต้า และตำบลบุ่งคล้า)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอวังโป่ง, อำเภอชนแดน และอำเภอหนองไผ่ (เฉพาะตำบลห้วยโป่ง ตำบลนาเฉลียง ตำบลยางงาม ตำบลหนองไผ่ และตำบลบัววัฒนา)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอบึงสามพัน, อำเภอหนองไผ่ (ยกเว้นตำบลห้วยโป่ง ตำบลนาเฉลียง ตำบลยางงาม ตำบลหนองไผ่ และตำบลบัววัฒนา) และอำเภอวิเชียรบุรี (เฉพาะตำบลสามแยก ตำบลบึงกระจับ ตำบลโคกปรง และตำบลยางสาว)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอศรีเทพและอำเภอวิเชียรบุรี (ยกเว้นตำบลสามแยก ตำบลบึงกระจับ ตำบลโคกปรง และตำบลยางสาว)
Thumb6 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1พ.ศ. 2476ขุนอินทรภักดี (ทองอิน ทองมาก)
ชุดที่ 2พ.ศ. 2480ขุนอนุสรสิทธิกรรม (ทองดี วัชโรทยาน)
ชุดที่ 3พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4มกราคม พ.ศ. 2489นายเชื้อ สนั่นเมือง
สิงหาคม พ.ศ. 2489– (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5พ.ศ. 2491ร้อยตำรวจโท สงกรานต์ อุดมสิทธิ์
พ.ศ. 2492– (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7พ.ศ. 2495พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคชาตินิยม
      พรรคเสรีมนังคศิลาพรรคชาติสังคม
ชุดที่ 8
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
ชุดที่ 9
ธันวาคม พ.ศ. 2500
พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์นายมนัส พรหมบุญ
ร้อยตำรวจตรี ชัยชาญ งามสง่าร้อยตำรวจตรี ชัยชาญ งามสง่า

ชุดที่ 10; พ.ศ. 2512

      พรรคสหประชาไทย
ลำดับชุดที่ 10 พ.ศ. 2512
1เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล
2นายปัญจะ เกสรทอง
3พันตำรวจตรี สงกรานต์ อุดมสิทธิ์

ชุดที่ 11–12; พ.ศ. 2518–2519

      พรรคธรรมสังคม
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
เขตชุดที่ 11 พ.ศ. 2518ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519
1นายเทียนชัย อุทัยวงศ์เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูล
นายปัญจะ เกสรทอง
2นายไชยวัฒน์ ไตรยสุนันท์
นายเกษม บุตรขุนทอง

ชุดที่ 13–14; พ.ศ. 2522–2526

      พรรคกิจสังคม
      พรรคเกษตรสังคม
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2522)
      พรรคชาติไทย
      พรรคก้าวหน้า
      พรรคชาติประชาธิปไตย
เขตชุดที่ 13 พ.ศ. 2522ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1นายจรัส พั้วช่วย
นายปัญจะ เกสรทองนายปัญจะ เกสรทอง
นายไพศาล จันทรภักดีนายไพศาล จันทรภักดี
2นายพล กุรุพิลวคุปต์นายเกษม บุตรขุนทอง
นายบัญญัติ ทือเกาะนายวิเชียร สอนน้อย

ชุดที่ 15–18; พ.ศ. 2529–2535

      พรรคราษฎร (พ.ศ. 2529)
      พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรครวมไทย (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคพลังธรรม
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคเสรีธรรม (พ.ศ. 2535)
      พรรคความหวังใหม่
เขตชุดที่ 15 พ.ศ. 2529ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
1นายวิศัลย์ โฆษิตานนท์นายไพศาล จันทรภักดี
นายจรัส พั้วช่วยนายจรัส พั้วช่วย
นายปัญจะ เกสรทองนายปัญจะ เกสรทอง
2นายเอี่ยม ทองใจสดนายเอี่ยม ทองใจสด
เรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูลเรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูลไทเรือตรี สุพจน์ ตั้งตระกูลไท
นายวิเชียร สอนน้อยนายแก้ว บัวสุวรรณนายเกษม บุตรขุนทองนายแก้ว บัวสุวรรณ

ชุดที่ 19–20; พ.ศ. 2538–2539

      พรรคชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535)
      พรรคนำไทย
      พรรคพลังธรรม
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคชาติไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
เขตชุดที่ 19 พ.ศ. 2538ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1นายปัญจะ เกสรทองนายปัญจะ เกสรทอง
พลตำรวจตรี ประธาน สว่างวโรรสนายไพศาล จันทรภักดี
นายจรัส พั้วช่วยนายจรัส พั้วช่วย
2นายสันติ พร้อมพัฒน์
พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตรนายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์
3นายแก้ว บัวสุวรรณ
นายเอี่ยม ทองใจสดนายเอี่ยม ทองใจสด

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคไทยรักไทย
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 21[3] พ.ศ. 2544ชุดที่ 22[4] พ.ศ. 2548
1นายเรวัต แสงวิจิตร นายเรวัต แสงวิจิตร
นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์ (แทนนายเรวัต)
2นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์
3นายทวีศักดิ์ อนรรฆพันธ์
4นายณรงค์กร ชวาลสันตติ นายณรงค์กร ชวาลสันตติ
นายจรัส พั้วช่วย (แทนนายณรงค์กร)
5พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร
6นายแก้ว บัวสุวรรณนายเอี่ยม ทองใจสด
7นายไพศาล จันทรภักดี

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคพลังประชาชนพรรคเพื่อไทย
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 23[5] พ.ศ. 2550
1นายจักรัตน์ พั้วช่วย
นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์
นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรี นายณรงค์กร ชวาลสันตติ (แทนนายสุทัศน์)
2นายเอี่ยม ทองใจสด
นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์
นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์

ชุดที่ 24–26; พ.ศ. 2554–2566

      พรรคเพื่อไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
เขตชุดที่ 24 พ.ศ. 2554ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1นายสุทัศน์ จันทร์แสงศรีนางสาวพิมพ์พร พรพฤฒิพันธุ์
2นายจักรัตน์ พั้วช่วยนายจักรัตน์ พั้วช่วย
3นายยุพราช บัวอินทร์
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์นายบุญชัย กิตติธาราทรัพย์
4นางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์นายวรโชติ สุคนธ์ขจร
5นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์นายเอี่ยม ทองใจสดนางวันเพ็ญ พร้อมพัฒน์
6นายเอี่ยม ทองใจสดยุบเขต 6นายอัคร ทองใจสด

รูปภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.