จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 7 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 7 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ข้อมูลเบื้องต้น เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, จำนวนเขต ...
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดสุราษฎร์ธานี
Thumb
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต7
คะแนนเสียง207,782 (รวมไทยสร้างชาติ)
68,287 (ภูมิใจไทย)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งรวมไทยสร้างชาติ (6)
ภูมิใจไทย (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ
ปิด

ประวัติศาสตร์

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดสุราษฎร์ธานีมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนวรศาสน์ดรุณกิจ (ฝ้าย บุญเลี้ยง)

เขตเลือกตั้ง

การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งแผนที่จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/12 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 25123 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย และกิ่งอำเภอเกาะพะงัน
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และกิ่งอำเภอบ้านตาขุน
4 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2522· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และกิ่งอำเภอบ้านนาเดิม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ และอำเภอบ้านตาขุน
พ.ศ. 2526· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และกิ่งอำเภอบ้านนาเดิม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอพระแสง, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอชัยบุรี
พ.ศ. 2529· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, กิ่งอำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน และเขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ และอำเภอบ้านตาขุน
พ.ศ. 2535/2· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และกิ่งอำเภอชัยบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอวิภาวดี
พ.ศ. 2538· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม และอำเภอชัยบุรี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอบ้านตาขุน และกิ่งอำเภอวิภาวดี
พ.ศ. 2539· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอบ้านนาเดิม
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ, อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านตาขุน, อำเภอชัยบุรี และกิ่งอำเภอวิภาวดี
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2544· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และ ตำบลช้างขวา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และตำบลช้างขวา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลเขาตอก)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลเขาตอก), อำเภอพนม และอำเภอบ้านตาขุน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง อำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และกิ่งอำเภอวิภาวดี
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2550· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี, อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอกาญจนดิษฐ์, อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอเวียงสระ (ยกเว้นตำบลทุ่งหลวง)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอพุนพิน, อำเภอเคียนซา, อำเภอคีรีรัฐนิคม, อำเภอไชยา, อำเภอพนม, อำเภอท่าฉาง, อำเภอท่าชนะ, อำเภอเวียงสระ (เฉพาะตำบลทุ่งหลวง), อำเภอพระแสง, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอบ้านตาขุน, อำเภอชัยบุรี และอำเภอวิภาวดี
6 คน (2 เขต เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2554· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และ ตำบลช้างขวา)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย และตำบลช้างขวา)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ), อำเภอพนม และอำเภอบ้านตาขุน
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง อำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอวิภาวดี
6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอดอนสัก, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอเกาะพะงัน และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย ตำบลช้างขวา ตำบลป่าร่อน และตำบลคลองสระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอบ้านนาสาร, อำเภอเวียงสระ และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลทุ่งรัง ตำบลช้างซ้าย ตำบลช้างขวา ตำบลป่าร่อน และตำบลคลองสระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอคีรีรัฐนิคม (ยกเว้นตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอพระแสง, อำเภอชัยบุรี, อำเภอพนม, อำเภอบ้านตาขุน และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอไชยา, อำเภอท่าชนะ, อำเภอท่าฉาง, อำเภอวิภาวดี และอำเภอคีรีรัฐนิคม (เฉพาะตำบลท่าขนอน ตำบลน้ำหัก และตำบลบ้านยาง)
Thumb6 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2566· เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (ยกเว้นตำบลวัดประดู่และตำบลขุนทะเล)
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอเกาะพะงัน, อำเภอเกาะสมุย, อำเภอดอนสัก และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (เฉพาะตำบลท่าทอง ตำบลพลายวาส ตำบลท่าอุแท และตำบลคลองสระ)
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเวียงสระ, อำเภอบ้านนาสาร (ยกเว้นตำบลทุ่งเตาและตำบลทุ่งเตาใหม่) และอำเภอเคียนซา (ยกเว้นตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอพุนพิน, อำเภอคีรีรัฐนิคม และอำเภอบ้านตาขุน
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอชัยบุรี, อำเภอพระแสง, อำเภอพนม และอำเภอเคียนซา (เฉพาะตำบลบ้านเสด็จ)
· เขตเลือกตั้งที่ 6 : อำเภอท่าชนะ, อำเภอไชยา, อำเภอท่าฉาง และอำเภอวิภาวดี
· เขตเลือกตั้งที่ 7 : อำเภอบ้านนาเดิม, อำเภอบ้านนาสาร (เฉพาะตำบลทุ่งเตาและตำบลทุ่งเตาใหม่), อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี (เฉพาะตำบลวัดประดู่และตำบลขุนทะเล) และอำเภอกาญจนดิษฐ์ (ยกเว้นตำบลท่าทอง ตำบลพลายวาส ตำบลท่าอุแท และตำบลคลองสระ)
Thumb7 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคแนวรัฐธรรมนูญพรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่การเลือกตั้งเขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1พ.ศ. 2476ขุนวรศาสน์ดรุณกิจ (ฝ้าย บุญเลี้ยง)
ชุดที่ 2พ.ศ. 2480นายวุฒิ สุวรรณรักษ์
ชุดที่ 3พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4มกราคม พ.ศ. 2489นายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
สิงหาคม พ.ศ. 2489พันตำรวจโท พัฒน์ นีลวัฒนานนท์ (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5พ.ศ. 2491นายโชติ วิชัยดิษฐ
พ.ศ. 2492– (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7พ.ศ. 2495พันตำรวจโท พัฒน์ นีลวัฒนานนท์

ชุดที่ 8–9; พ.ศ. 2500

      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500
1นายสงวน กนกวิจิตรนายละออง แสงเดช
2นายโชติ วิชัยดิษฐ

ชุดที่ 10–11; พ.ศ. 2512–2518

      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      ไม่สังกัดพรรคการเมือง
ลำดับชุดที่ 10 พ.ศ. 2512ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518
1นายสงวน กนกวิจิตรนายบัญญัติ บรรทัดฐาน
2นายประสาทสุข ถิรวัฒน์นายวิจิตร ยืนนาน
3พันตำรวจตรี ทวี วิชัยดิษฐนายชื่น ทองศิริ

ชุดที่ 12–14; พ.ศ. 2519–2526

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
เขตชุดที่ 12 พ.ศ. 2519ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526
1นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
นายชื่น ทองศิรินายยุทธกิจ เจนปรมกิจนายสิทธิพร โพธิ์เพชร
2นายไพฑูรย์ วงศ์วานิชนายสุเทพ เทือกสุบรรณ
นายวิจิตร ยืนนานนายภิญญา ช่วยปลอด

ชุดที่ 15–19; พ.ศ. 2529–2538

      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคพลังธรรม
เขตชุดที่ 15 พ.ศ. 2529ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531ชุดที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535ชุดที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2535ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538
1นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
นายพาสกร จรูญรัตน์นายโกเมศ ขวัญเมืองนายชุมพล กาญจนะ
นายสิทธิพร โพธิ์เพชรนายตัน วัชรสินธุ์นายประวิช นิลวัชรมณี
2นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
นายภิญญา ช่วยปลอดนางนิภา พริ้งศุลกะ

ชุดที่ 20; พ.ศ. 2539

      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1นายบัญญัติ บรรทัดฐาน
นายชุมพล กาญจนะ
นายประวิช นิลวัชรมณี
2นายธวัช วิชัยดิษฐ (เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นางนิภา พริ้งศุลกะ
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 21 พ.ศ. 2544ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1นายโกเมศ ขวัญเมือง
2นายประวิช นิลวัชรมณีนายประพนธ์ นิลวัชรมณี
3นายชุมพล กาญจนะ
4นายเชน เทือกสุบรรณ
5นายสินิตย์ เลิศไกร
6นางนิภา พริ้งศุลกะ

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
(ลาออก)
นายธานี เทือกสุบรรณ
(แทนนายสุเทพ)
นายประพนธ์ นิลวัชรมณี
นายชุมพล กาญจนะ
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
(แทนนายชุมพล)
2นายเชน เทือกสุบรรณ
นายสินิตย์ เลิศไกร
นางนิภา พริ้งศุลกะ

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

      พรรคประชาธิปัตย์
เขตชุดที่ 24 พ.ศ. 2554ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1นายธานี เทือกสุบรรณนายภานุ ศรีบุศยกาญจน์
2นายสุเทพ เทือกสุบรรณ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งใหม่)
นายวิวรรธน์ นิลวัชรมณี
3นางโสภา กาญจนะนางสาววชิราภรณ์ กาญจนะ
(ลาออก/ไม่มีเลือกตั้งซ่อม)
4นายเชน เทือกสุบรรณนายสมชาติ ประดิษฐพร
5นายสินิตย์ เลิศไกร
6นายธีรภัทร พริ้งศุลกะ

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคภูมิใจไทย
เขตชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1นางสาวกานต์สินี โอภาสรังสรรค์
2นายพิพิธ รัตนรักษ์
3นางสาววชิราภรณ์ กาญจนะ
4นายพันธ์ศักดิ์ บุญแทน
5นายปรเมษฐ์ จินา
6นายพิชัย ชมภูพล
7นายธานินท์ นวลวัฒน์

รูปภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.