Remove ads
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีปู่เจ้า (อังกฤษ: Pu Chao station; รหัส: E16) เป็นสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสแบบยกระดับในเส้นทางสายสุขุมวิทส่วนต่อขยายแบริ่ง–สมุทรปราการ[1] ยกระดับเหนือถนนสุขุมวิทในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดให้บริการเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561[2][3]
ปู่เจ้า E16 Pu Chao | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
บันไดทางขึ้นสถานีฯ | |||||||||||
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ | ||||||||||
พิกัด | 13°38′15″N 100°35′31″E | ||||||||||
เจ้าของ | กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (บีทีเอสซี) | ||||||||||
สาย | |||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | E16 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2561 | ||||||||||
ชื่อเดิม | ปู่เจ้าสมิงพราย | ||||||||||
ผู้โดยสาร | |||||||||||
2564 | 801,317 | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
| |||||||||||
|
ถนนสุขุมวิท บริเวณปากซอยสุขุมวิท 115 (อภิชาติ) ใกล้กับห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ สาขาสำโรง 2 ในพื้นที่ตำบลเทพารักษ์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ
เดิมทีสถานีแห่งนี้ใช้ชื่อในแผนงานและในระหว่างการก่อสร้างว่า สถานีปู่เจ้าสมิงพราย ก่อนที่ สำนักงานราชบัณฑิตยสภา จะมีมติให้การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทยดำเนินการแก้ไขชื่อสถานีในช่วงสุดท้ายของการก่อสร้างเป็น สถานีปู่เจ้า เพื่อให้ชื่อสถานีมีความเหมาะสม[4]
U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 1 | สายสุขุมวิท มุ่งหน้า เคหะฯ (ช้างเอราวัณ) | |
ชานชาลา 2 | สายสุขุมวิท มุ่งหน้า คูคต (สำโรง) | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก ,ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า, บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ |
G ระดับถนน |
- | ป้ายรถประจำทาง, บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์, โรงงานผลิตถ่านไฟฉายพานาโซนิค, โรงงานผลิตรถยนต์โตโยต้า, ปั๊มน้ำมัน ปตท., โชว์รูมรถยนต์ฮอนด้า |
เป็นแบบมีชานชาลาอยู่ 2 ข้าง ขนาดมาตรฐาน ชั้นชานชาลากว้าง 17.75 เมตร ยาว 150 เมตร ชั้นจำหน่ายตั๋วกว้าง 19.55 เมตร ยาว 120 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง
จุดรวมพล อยู่ที่ ทางออก 2 และ ทางออก 4
ลิฟต์ สำหรับผู้พิการ ไปยังชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา จากทางเท้าทั้ง 2 ฝั่ง
ปลายทาง | ขบวนแรก | ขบวนสุดท้าย | |
---|---|---|---|
สายสุขุมวิท[5] | |||
ชานชาลาที่ 1 | |||
E23 | เคหะฯ | 05.16 | 00.32 |
ชานชาลาที่ 2 | |||
N24 | คูคต | 05.30 | 23.30 |
N9 | ห้าแยกลาดพร้าว | – | 23.45 |
E15 | สำโรง | – | 00.15 |
เดิมกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์เป็นรูปสะพานวงแหวนอุตสาหกรรม สื่อถึงการเข้าถึงเส้นทางเชื่อมต่อ ระหว่างฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา[6] แต่ปัจจุบันเน้นใช้สีเขียวอ่อน ตกแต่งรั้วและเสา บริเวณสถานี ชั้นชานชาลา ชั้นจำหน่ายตั๋ว ป้ายบอกทางและทางเข้าออกสถานี เพื่อบ่งบอกว่าเป็นสถานีด้านตะวันออก
สายที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
25E (3-7E) (3) | โรงเรียนปทุมคงคา สมุทรปราการ | ท่าช้าง | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ขสมก. | รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงด่านสะพานเหลือง) |
อู่แพรกษาบ่อดิน | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | ||||
102 (3-12E) (2) | ปากน้ำ (อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ) | อู่สาธุประดิษฐ์ | 1.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) |
1.ขาไป วนเข้าถนนแพรกษาตามสัมปทาน 2.รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านท่าเรือ) | |
129 (1-14E) (1) | สำโรง | อู่บางเขน | 1.รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 3.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) |
รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านดินอดง) | |
142 (3-17E) (2) | ปากน้ำ (อู่ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ) | อู่แสมดำ | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) 2.รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) |
รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านสุขสวัสดิ์) | |
511 (2) | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) | รถทางล่าง ใช้ป้ายหน้ารถสีนํ้าเงิน รถบริการทางด่วน ใช้ป้ายหน้ารถสีเหลือง มีรถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 62 ลงทางด่วนด่านประตูน้ำ) มีให้บริการตั้งแต่ 04.00 น. - 21.00 น. | |||
536 (3-24E) (2) | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา ลงทางด่วนด่านประตูน้ำ) |
สายที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
2 (3-1) | ปากน้ำ | สะพานพระพุทธยอดฟ้า | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีน้ำเงิน (ใช้พลังงานไฟฟ้า) | บจก.ไทยสมายล์บัส | มีรถให้บริการตลอดคืน |
25 (3-6) | โรงเรียนปทุมคงคาสมุทรปราการ | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) | บจก.สาย 25 ร่วมใจ (เครือไทยสมายล์บัส) |
||
507 (3-13) | อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (บรมราชชนนี) | บจก.สมาร์ทบัส (เครือไทยสมายล์บัส) |
||
513 (3-23E) | ศูนย์ราชการฯ แจ้งวัฒนะ | บจก.ไทยสมายล์บัส | รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านสุขุมวิท 50 ลงทางด่วนด่านรามอินทรา) | ||
552 (3-25E) | ปากน้ำ | นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง | รถบริการทางด่วน (ขึ้นทางด่วนด่านบางนา กม.6 ลงทางด่วนด่านบางแก้ว) | ||
552X (3-25EX) | โรงเรียนนายเรือ | เมกาบางนา | เส้นทางเสริม ไม่ขึ้นทางด่วน | ||
3-32 | อู่ไทยสมายล์บัส (สาขาปากน้ำ) | สวนสยาม |
สายที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|
365 | ปากน้ำ | บางปะกง | รถโดยสารประจำทางสีเขียว | บจก.สันติมิตรขนส่ง | |
365 (เสริม) | สำโรง | บางพลี | |||
1141 | ปากน้ำ | ม.รามคำแหง วิทยาเขตบางนา | รถสองแถวประจำทางสีขาว | บจก.เทียนทองขนส่ง | |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.