คำถามยอดนิยม
ไทมไลน์
แชท
มุมมอง

รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ตำแหน่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย
Remove ads

ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย ตามความหมายในมาตรา 106 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 คือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหัวหน้าพรรคที่มีจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมากที่สุดในกลุ่มพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย (พรรคที่ไม่มีสมาชิกเป็นรัฐมนตรี ประธานสภา และรองประธานสภา)[2] โดยมีหน้าที่สำคัญคือการเป็นผู้นำในการตรวจสอบการทำงานของรัฐบาล เริ่มดำรงตำแหน่งเมื่อพระมหากษัตริย์มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และสิ้นสุดเมื่อพ้นจากหัวหน้าพรรค และ/หรือ พ้นจากตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ/หรือ สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง ไม่ว่าจะครบวาระ หรือมีการยุบสภาก็ตาม

ข้อมูลเบื้องต้น ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร แห่งราชอาณาจักรไทย, สมาชิกของ ...
Remove ads
Remove ads

รายชื่อผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ลำดับ
(สมัย)
รูป รายชื่อ เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย)
ระยะเวลา พรรคการเมือง คณะรัฐมนตรี
1Thumbหม่อมราชวงศ์ เสนีย์ ปราโมช22 มีนาคม พ.ศ. 2518[3]12 มกราคม พ.ศ. 2519
(ยุบสภา)
9 เดือน 21 วันประชาธิปัตย์คึกฤทธิ์
2
(1)
Thumbพลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร24 พฤษภาคม พ.ศ. 2526[4]1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภา)
2 ปี 11 เดือน 7 วันชาติไทยเปรม 2
3
(1)
Thumbพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ15 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 [5]30 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภา)
1 เดือน 15 วันความหวังใหม่สุจินดา
อานันท์ 2
2
(2)
Thumbพลตำรวจเอก ประมาณ อดิเรกสาร30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 [6]7 พฤษภาคม พ.ศ. 2537
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
1 ปี 6 เดือน 7 วันชาติไทยชวน 1
4
Thumbบรรหาร ศิลปอาชา27 พฤษภาคม พ.ศ. 2537[7]19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภา)
11 เดือน 22 วัน
5
(1-2)
Thumbชวน หลีกภัย4 สิงหาคม พ.ศ. 2538 [8]27 กันยายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภา)
1 ปี 1 เดือน 23 วันประชาธิปัตย์บรรหาร
21 ธันวาคม พ.ศ. 2539[9]8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี)
10 เดือน 18 วันชวลิต
3
(2-4)
Thumbพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540[10]2 มิถุนายน พ.ศ. 2541
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
6 เดือน 7 วันความหวังใหม่ชวน 2
2 กันยายน พ.ศ. 2541[11]27 เมษายน พ.ศ. 2542
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
7 เดือน 25 วัน
12 พฤษภาคม พ.ศ. 2542[12]9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543
(ยุบสภา)
1 ปี 181 วัน
5
(3)
Thumbชวน หลีกภัย11 มีนาคม พ.ศ. 2544[13]3 พฤษภาคม พ.ศ. 2546
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
2 ปี 1 เดือน 22 วันประชาธิปัตย์ทักษิณ 1
6Thumbบัญญัติ บรรทัดฐาน23 พฤษภาคม พ.ศ. 2546[14]5 มกราคม พ.ศ. 2548
(ครบวาระของสภาผู้แทนราษฎร)
1 ปี 7 เดือน 13 วัน
7
(1-3)
Thumbอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ23 เมษายน พ.ศ. 2548[15]24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549
(ยุบสภา)
10 เดือน 1 วันทักษิณ 2
27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551[16]17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เข้ารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี)
9 เดือน 20 วันสมัคร
สมชาย
16 กันยายน พ.ศ. 2554 [17]9 ธันวาคม พ.ศ. 2556
(ยุบสภา)
2 ปี 2 เดือน 23 วันยิ่งลักษณ์
8
(1-2)
Thumbสมพงษ์ อมรวิวัฒน์17 สิงหาคม พ.ศ. 2562[18]26 กันยายน พ.ศ. 2563
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
1 ปี 1 เดือน 9 วันเพื่อไทยประยุทธ์ 2
6 ธันวาคม พ.ศ. 2563 [19]28 ตุลาคม พ.ศ. 2564
(ลาออกจากหัวหน้าพรรค)
10 เดือน 12 วัน
9Thumbชลน่าน ศรีแก้ว23 ธันวาคม พ.ศ. 2564[20]20 มีนาคม พ.ศ. 2566
(ยุบสภา)
1 ปี 2 เดือน 25 วัน
10Thumbชัยธวัช ตุลาธน17 ธันวาคม พ.ศ. 2566[21]7 สิงหาคม พ.ศ. 2567
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี)
7 เดือน 21 วันก้าวไกลเศรษฐา
11Thumbณัฐพงษ์ เรืองปัญญาวุฒิ25 กันยายน พ.ศ. 2567[22]ปัจจุบัน7 เดือน 17 วันประชาชนแพทองธาร
Remove ads

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Loading content...
Loading related searches...

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Remove ads