ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ ครั้งที่ 47 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 5 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562 โดยมีทีมเข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 4 ทีม คือ ไทย (เจ้าภาพ), เวียดนาม, อินเดีย และกือราเซา[1] และเป็นครั้งแรกนับตั้งแต่ครั้งที่ 43 ที่จัดขึ้นนอกกรุงเทพมหานคร โดยครั้งนี้จะแข่งขันกันที่จังหวัดบุรีรัมย์[2]
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ประเทศไทย |
เมือง | จังหวัดบุรีรัมย์ |
วันที่ | 5 – 8 มิถุนายน พ.ศ. 2562 |
ทีม | ไทย เวียดนาม อินเดีย กูราเซา (จาก 2 สมาพันธ์) |
สถานที่ | ช้างอารีนา (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | กูราเซา (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | เวียดนาม |
อันดับที่ 3 | อินเดีย |
อันดับที่ 4 | ไทย |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 4 |
จำนวนประตู | 8 (2 ประตูต่อนัด) |
ทีมที่เข้าร่วม
- 1 อันดับโลกฟีฟ่า ณ วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2562.[3]
สถานที่แข่งขัน
สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยืนยันว่า การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพครั้งที่ 47 นี้จะไม่แข่งขันที่สนามราชมังคลากีฬาสถานอย่างเช่น 3 ครั้งก่อนหน้า เพราะอยู่ในช่วงการปรับปรุงสำหรับรองรับการเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพในปี พ.ศ. 2563 และจะใช้สนามในต่างจังหวัดที่ผ่านมาตรฐาน A-Class ของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย และเดินทางได้สะดวกในการจัดการแข่งขันครั้งนี้แทน[5] โดยเบื้องต้นมี 3 สนามที่ถูกเสนอให้พิจารณาเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้ คือ มิตรผลสเตเดียม ในจังหวัดราชบุรี, ช้างอารีนา ในจังหวัดบุรีรัมย์ และสนามกีฬากลางในจังหวัดสุพรรณบุรี[6] สุดท้าย ในวันที่ 5 เมษายน สมาคมฯ จึงเลือกช้างอารีนาเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้[2]
จังหวัดบุรีรัมย์ | |
---|---|
ช้างอารีนา (ธันเดอร์คาสเซิลสเตเดียม) | |
14°58′0″N 103°5′46″E | |
ความจุ: 32,600 ที่นั่ง | |
![]() |
ผู้เล่น
นัด
สรุป
มุมมอง
เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, เวลาอินโดจีน (UTC+7)
กฎกติกาการแข่งขัน
- 90 นาที.
- การดวลลูกโทษ ถ้าในกรณีที่จำเป็นโดยไม่มีการต่อเวลาพิเศษ.
- เปลี่ยนตัวผู้เล่นได้สูงสุด 3 คน.
สายการแข่งขัน
รอบรองชนะเลิศ | นัดชิงชนะเลิศ | ||||||
5 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | |||||||
![]() |
3 | ||||||
![]() |
1 | ||||||
8 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | |||||||
![]() |
1 (5) | ||||||
![]() |
1 (4) | ||||||
นัดชิงอันดับที่ 3 | |||||||
5 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | 8 มิถุนายน - บุรีรัมย์ | ||||||
![]() |
0 | ![]() |
1 | ||||
![]() |
1 | ![]() |
0 |
รอบรองชนะเลิศ
ผู้ตัดสิน: ชัยฤกษ์ งามสม (ไทย)
ไทย ![]() | 0–1 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | เหงียน อัญ ดึ๊ก ![]() |
ผู้ตัดสิน: จัมเปะอิ ไออิดะ (ญี่ปุ่น)
นัดชิงอันดับที่ 3
ผู้ตัดสิน: จัมเปะอิ ไออิดะ (ญี่ปุ่น)
นัดชิงชนะเลิศ
กูราเซา ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
Carolina ![]() |
รายงาน | Phạm Đức Huy ![]() |
ลูกโทษ | ||
Benschop ![]() Hooi ![]() Antonia ![]() Bacuna ![]() Maria ![]() |
5–4 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
ผู้ตัดสิน: วิวรรธน์ จำปาอ่อน (ไทย)
อันดับการแข่งขัน
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ
(H) เจ้าภาพ
การถ่ายทอดสด
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.