Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พลตำรวจเอก ณรงค์ มหานนท์ (5 มกราคม พ.ศ. 2470 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2567) เป็นที่ปรึกษาวารสารมูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย อดีตอธิบดีกรมตำรวจ 2525-2530 อดีตสมาชิกวุฒิสภา[1] อดีตกรรมการบริษัทดั๊บเบิ้ล เอ (1991) จำกัด (มหาชน) และอดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประธานที่ปรึกษาบริษัท ช.การช่าง จำกัด[2]
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย
|
ณรงค์ มหานนท์ | |
---|---|
อธิบดีกรมตำรวจ | |
ดำรงตำแหน่ง 1 ตุลาคม พ.ศ. 2525 – 30 กันยายน พ.ศ. 2530 | |
ก่อนหน้า | พลตำรวจเอก สุรพล จุลละพราหมณ์ |
ถัดไป | พลตำรวจเอก เภา สารสิน |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 5 มกราคม พ.ศ. 2470 อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี |
เสียชีวิต | 12 ตุลาคม พ.ศ. 2567 (97 ปี) |
ศาสนา | พุทธ |
คู่สมรส | คุณหญิงฑิพา มหานนท์ (ถึงแก่อนิจกรรม) ท่านผู้หญิง ภรณี มหานนท์ |
บุตร | นายแพทย์นิธิ มหานนท์ ฝนทิพย์ มหานนท์ |
บุพการี |
|
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง | |
ประจำการ | พ.ศ. 2488 - 2530 |
ยศ | พลตำรวจเอก |
บังคับบัญชา | กรมตำรวจ |
พลตำรวจเอก ณรงค์ มหานนท์ เกิดเมื่อวันพุธ ขึ้น 3 ค่ำ เดือนยี่ ปีขาล ตรงกับวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2470 (นับแบบใหม่) ที่ตำบลคลองกระแชง อำเภอเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี เป็นบุตรของ นายพูน และนางสว่าง มหานนท์ สมรสกับ คุณหญิงฑิพา มหานนท์ (ถึงแก่อนิจกรรม) มีบุตร-ธิดา คือ
ต่อมาสมรสกับ ท่านผู้หญิงภรณี มหานนท์
พลตำรวจเอก ณรงค์ มหานนท์ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศและเหรียญในต่างประเทศ ดังนี้
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.