เยอรมนีตะวันตก (อังกฤษ: West Germany) มีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี[lower-alpha 1] (อังกฤษ: Federal Republic of Germany, FRG; เยอรมัน: Bundesrepublik Deutschland [ˈbʊndəsʁepuˌbliːk ˈdɔʏtʃlant] ( ฟังเสียง), BRD) ในอดีตเรียกเป็น สาธารณรัฐบ็อน[3] เป็นคำเรียกอย่างไม่เป็นทางการของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงปี ค.ศ. 1949 ถึง 1990 ซึ่งในช่วงเวลานี้ มีอีกรัฐเยอรมันดำรงอยู่อีกรัฐหนึ่ง คือ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (เยอรมนีตะวันออก)

ข้อมูลเบื้องต้น สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี Bundesrepublik Deutschland, เมืองหลวง ...
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

Bundesrepublik Deutschland
1949–1990[a]
Thumb
ธงชาติ
Thumb
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ: "Einigkeit und Recht und Freiheit"
"เอกภาพและยุติธรรมและอิสรภาพ"
เพลงชาติ: 
"Ich hab' mich ergeben"
("ข้าได้ยอมแพ้ด้วยตนเอง")
(ค.ศ. 1949–1952)

"ดัสลีทแดร์ด็อยท์เชิน"
("เพลงแห่งเยอรมัน")
(ค.ศ. 1952–1990)
Thumb
ดินแดนเยอรมนีตะวันตก (เขียวเข้ม) และเบอร์ลินตะวันตก (เขียวอ่อน) ตั้งแต่การครอบครองซาร์ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1957 ถึงการรวมเยอรมนีในวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1990
เมืองหลวงบ็อนg
เมืองใหญ่สุดฮัมบวร์ค
ภาษาราชการเยอรมัน
ศาสนา
ดูศาสนาในเยอรมนีตะวันตก
การปกครองสหพันธ์ ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
ประธานาธิบดี 
 1949–1959 (คนแรก)
เทโอดอร์ ฮ็อยส์
 1984–1990 (คนสุดท้าย)
ริชชาร์ท ฟ็อน ไวทซ์เซ็คเคอร์c
นายกรัฐมนตรี 
 1949–1963 (คนแรก)
ค็อนราท อาเดอเนาเออร์
 1982–1990 (คนสุดท้าย)
เฮ็ลมูท โคลd
สภานิติบัญญัติ
บุนเดิสราท
บุนเดิสทาค
ยุคประวัติศาสตร์สงครามเย็น
 ก่อตั้ง
23 พฤษภาคม 1949
 สนธิสัญญาบ็อน–ปารีส
5 พฤษภาคม ค.ศ. 1955
 สมาชิกเนโท
9 พฤษภาคม ค.ศ. 1955
 Saar statute
1 มกราคม ค.ศ. 1957
25 มีนาคม ค.ศ. 1957
 สนธิสัญญาพื้นฐานกับประเทศเยอรมนีตะวันออก
21 ธันวาคม ค.ศ. 1972
 ยอมรับเป็นสมาชิกสหประชาชาติ
18 กันยายน ค.ศ. 1973
12 กันยายน ค.ศ. 1990
3 ตุลาคม 1990[a]
พื้นที่
 รวม
248,717 ตารางกิโลเมตร (96,030 ตารางไมล์)
ประชากร
 1950
50,958,000e
 1970
61,001,000
 1990
63,254,000
254 ต่อตารางกิโลเมตร (657.9 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 1990 (ประมาณ)
 รวม
ประมาณ 1.0 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ (อันดับที่ 4)
สกุลเงินมาร์คเยอรมันf (DM) (DEM)
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
 ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
รหัสโทรศัพท์+49
โดเมนบนสุด.de
ก่อนหน้า
ถัดไป
ค.ศ. 1949:
เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร
ค.ศ. 1957:
รัฐในอารักขาซาร์
ค.ศ. 1945:
เยอรมนีภายใต้การยึดครองของอเมริกา
เยอรมนีภายใต้เขตการยึดครองของบริติช
เยอรมนีภายใต้เขตการยึดครองของฝรั่งเศส
สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนีที่รวมเป็นหนึ่ง)
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศเยอรมนี
  1. รัฐนี้ไม่ได้หายไปหลังรวมประเทศ แต่ยังคงดำเนินต่อในฐานะสหพันธ์สาธารณรัฐที่ใหญ่กว่าเดิม
  2. จาก ค.ศ. 1952 ถึง 1991 เพลงชาติของเยอรมนีคือ Deutschlandlied ทั้งเพลง แต่จะร้อยเฉพาะบทที่สามในงานสำคัญ[1]
  3. ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเยอรมนีที่รวมเป็นหนึ่งถึง ค.ศ. 1994
  4. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีเยอรมนีที่รวมเป็นหนึ่งถึง ค.ศ. 1998
  5. สถิติประชากรจาก Statistisches Bundesamt[2]
  6. ในรัฐซาร์ลันท์ช่วงเดือนมกราคม ค.ศ. 1957 ถึงกรกฎาคม ค.ศ. 1959 ใช้สกุลเงินฟรังก์ฝรั่งเศสและฟรังก์ซาร์
  7. ตอนแรก บ็อนถูกกล่าวถึงเป็นที่นั่งชั่วคราวแห่งเดียวของสถาบันรัฐ แต่นับตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1970 เมืองนี้ถูกเรียกเป็น "เมืองหลวงสหพันธ์" (Bundeshauptstadt)
ปิด

เมืองหลวงของเยอรมนีตะวันตกคือบ็อน ปัจจุบันในบางครั้งชาวเยอรมันเรียกเยอรมนีตะวันตกว่าสาธารณรัฐบ็อน (die Bonner Republik)

สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี (เยอรมนีตะวันตก) รวมประเทศกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี (เยอรมนีตะวันออก) เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2533

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. "เยอรมนีตะวันตก" เป็นชื่อเรียกทั่วไปของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีในช่วงสงครามเย็น เยอรมนีที่รวมกันเป็นหนึ่งยังคงมีชื่อทางการว่าสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี

อ้างอิง

อ่านเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.