สถานีศรีนครินทร์ 38
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีศรีนครินทร์ 38 (อังกฤษ: Srinagarindra 38 station; รหัส: YL14) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีเหลือง โดยยกระดับเหนือถนนศรีนครินทร์ในพื้นที่เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร[2]
ศรีนครินทร์ 38 YL14 Srinagarindra 38 | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนศรีนครินทร์ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
พิกัด | 13°42′4″N 100°38′47″E | ||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล (อีบีเอ็ม) | ||||||||||
สาย | |||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | YL14 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 03 กรกฎาคม พ.ศ. 2566[1] | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
| |||||||||||
|
สถานีศรีนครินทร์ 38 ตั้งอยู่เหนือถนนศรีนครินทร์ บริเวณปากซอยศรีนครินทร์ 38 (หมู่บ้านมิตรภาพ) ในพื้นที่แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร[3]
ชานชาลาด้านข้าง กว้าง 20 เมตร ยาว 110 เมตร ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง[4]
ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่[5][6]
จุดรวมพลอยู่ที่ทางออก 2 บริเวณหน้าปากซอยศรีนครินทร์ 45 และทางออก 4 หมู่บ้านแกรนด์ บางกอก บูเลอวาร์ด ศรีนครินทร์
U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 1 | สายสีเหลือง มุ่งหน้า สำโรง (สวนหลวง ร.9) | |
ชานชาลา 2 | สายสีเหลือง มุ่งหน้า ลาดพร้าว (ศรีนุช) | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก, ศูนย์บริการผู้โดยสาร, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร, ร้านค้า |
G ระดับถนน |
– | ป้ายรถประจำทาง, ซอยศรีนครินทร์ 43, ซอยศรีนครินทร์ 45, ซอยศรีนครินทร์ 38, หมู่บ้านแกรนด์ บางกอก บูเลอวาร์ด ศรีนครินทร์ |
ลิฟต์สำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการไปยังชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา จากทางเท้าทั้ง 2 ฝั่ง
สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
145 | 3 (กปด.33) | อู่แพรกษาบ่อดิน | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | ขสมก. | |
145 | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | รถบริการตลอดคืน | ||||
145 | เมกาบางนา | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||||
206 | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||||
206 | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | |||||
207 (3-21) | มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยาเขตบางนา | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | |||
3-26E | สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ | โรงพยาบาลรามาธิบดี | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | |||
ถนนศรีนครินทร์ | ||||
---|---|---|---|---|
สายที่ | ต้นทาง | ปลายทาง | หมายเหตุ | |
รถสองแถว | ||||
1013 (2) | ซีคอนสแควร์ | พระโขนง | ||
1013 (4) | พาราไดซ์พาร์ค | พระโขนง | ||
1013 (5) | พาราไดซ์พาร์ค | ประเวศ | ||
1013 (9) | พาราไดซ์พาร์ค | แม็กซ์แวลูพัฒนาการ | ||
1013 (11) | เมกาบางนา | เออาร์แอลหัวหมาก |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.