พุทธศักราช 2448 (นับแบบใหม่) ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1905 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์
- ปีมะเส็ง สัปตศก จุลศักราช 1267 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2448 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1905 MCMV |
Ab urbe condita | 2658 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1354 ԹՎ ՌՅԾԴ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6655 |
ปฏิทินบาไฮ | 61–62 |
ปฏิทินเบงกอล | 1312 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2855 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 4 Edw. 7 – 5 Edw. 7 |
พุทธศักราช | 2449 |
ปฏิทินพม่า | 1267 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7413–7414 |
ปฏิทินจีน | 甲辰年 (มะโรงธาตุไม้) 4601 หรือ 4541 — ถึง — 乙巳年 (มะเส็งธาตุไม้) 4602 หรือ 4542 |
ปฏิทินคอปติก | 1621–1622 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3071 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1897–1898 |
ปฏิทินฮีบรู | 5665–5666 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1961–1962 |
- ศกสมวัต | 1827–1828 |
- กลียุค | 5006–5007 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11905 |
ปฏิทินอิกโบ | 905–906 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1283–1284 |
ปฏิทินอิสลาม | 1322–1323 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเมจิ 38 (明治38年) |
ปฏิทินจูเช | N/A |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4238 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | 7 ก่อน ROC 民前7年 |
ผู้นำ
- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 – 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าประเทศราช:
- เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่: เจ้าอินทวโรรสสุริยวงษ์ (28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 - 5 มกราคม พ.ศ. 2453)
- เจ้าผู้ครองนครลำพูน: เจ้าอินทยงยศโชติ (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2454)
- เจ้าผู้ครองนครลำปาง: เจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต (3 มกราคม พ.ศ. 2441 - 5 ตุลาคม พ.ศ. 2465)
- เจ้าผู้ครองนครน่าน: พระเจ้าสุริยพงษ์ผริตเดช (21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2437 - 5 เมษายน พ.ศ. 2461)
- เจ้าประเทศราช:
เหตุการณ์
- 30 มิถุนายน – อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เผยแพร่บทความ "On the Electrodynamics of Moving Bodies" และเสนอทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ
- 5 กันยายน – การลงนามในสนธิสัญญาพอตส์เมาท์ในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ สหรัฐอเมริกา เป็นการยุติสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการ
วันเกิด
- 21 มกราคม - คริสเตียน ดิออร์ นักออกแบบแฟชั่นชาวฝรั่งเศส (เสียชีวิต พ.ศ. 2500)
- 17 กุมภาพันธ์ - หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินท์ (นามปากกา ดอกไม้สด) นักประพันธ์ (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2506)
- 31 มีนาคม - กุหลาบ สายประดิษฐ์ (นามปากกา ศรีบูรพา) นักประพันธ์ (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2517)
- 26 พฤษภาคม - หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช อดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 6 (ถึงแก่กรรม 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540)
- 7 มิถุนายน - เริงจิตรแจรง อาภากร (สิ้นชีพิตักษัย 19 สิงหาคม พ.ศ. 2536)
- 21 มิถุนายน - ฌอง ปอล ซาร์ต นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี ค.ศ. 1964 แต่ปฏิเสธ (เสียชีวิต ค.ศ. 1980)
- 7 กรกฎาคม - พระครูศรีฉฬังคสังวร (เริ่ม ปรโม) เกจิดังของอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี (มรณภาพ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2538)
- 27 กรกฎาคม - เสงี่ยม นาวีเสถียร นักแสดงหญิงจากภาพยนตร์ไทยเรื่องแรก นางสาวสุวรรณ (ถึงแก่กรรม 13 สิงหาคม พ.ศ. 2507)
- 9 สิงหาคม - หม่อมเจ้าพิศิษฐ์ดิศพงษ์ ดิศกุล (สิ้นชีพิตักษัย 31 มีนาคม พ.ศ. 2509)
- 17 สิงหาคม - อุบล วรวรรณ (สิ้นชีพิตักษัย 6 ธันวาคม พ.ศ. 2528)
- 11 กันยายน - พรรณเพ็ญแข กฤดากร (สิ้นชีพิตักษัย 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2517)
- 2 พฤศจิกายน - หลวงพ่อกวย ชุตินธโร
- 12 พฤศจิกายน - หม่อมเจ้าอากาศดำเกิง รพีพัฒน์ นักประพันธ์ (สิ้นชีพิตักษัย 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2474)
- 17 พฤศจิกายน - สมเด็จพระราชินีอัสตริดแห่งเบลเยียม (สวรรคต 29 สิงหาคม พ.ศ. 2478)
วันถึงแก่กรรม
รางวัล
รางวัลโนเบล
- สาขาเคมี – Johann Friedrich Wilhelm Adolf von Baeyer
- สาขาวรรณกรรม – เฮนริก ซีนคีวิช
- สาขาสันติภาพ – Bertha von Suttner
- สาขาฟิสิกส์ – ฟิลิปป์ เอดูอาร์ด แอนตัน วอน เลนนาร์ด
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – โรเบิร์ต คอค
Wikiwand in your browser!
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.