Loading AI tools
นักกีฬาแบดมินตันชาวไทย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรือตรี เดชาพล พัววรานุเคราะห์ (เกิด 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997) เป็นนักแบดมินตันชาวไทย[2] ได้รับรางวัลเหรียญทองในงานเวิลด์ จูเนียร์ แชมเปี้ยนชิพส์[3] เคยครองอันดับ 1 ของโลกในประเภทคู่ผสมกับทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย[4][5][6] เจ้าของเหรียญเงินและเหรียญทองรายการชิงแชมป์โลกคู่ผสม ในปี 2019 และ 2021 ตามลำดับ ซึ่งเป็นคู่ผสมคู่แรกของไทยที่ได้แชมป์โลก[7][8][9] นอกจากนี้ยังชนะเลิศรายการในเวิลด์ทัวร์ 3 รายการติดต่อกัน 2 ครั้งภายใน 1 ปี คือต้นปี 2021 ที่ประเทศไทย และในปลายปีที่ บาหลี ประเทศอินโดนีเซีย[10][11]
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
เดชาพล พัววรานุเคราะห์ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลส่วนตัว | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชื่อเล่น | บาส | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ประเทศ | ประเทศไทย | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
เกิด | ชลบุรี ประเทศไทย | 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1997||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ส่วนสูง | 169 cm (5.54 ft) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มือที่ถนัด | ขวา | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ชายคู่และคู่ผสม | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับโลกสูงสุด | 21 (ชายคู่ ร่วมกับ กิตตินุพงษ์ เกตุเรน 20 กรกฎาคม 2560) 1 (คู่ผสม ร่วมกับ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย 7 ธันวาคม 2564)[1] | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อันดับโลกปัจจุบัน | 8 (คู่ผสม ร่วมกับ ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย 20 ตุลาคม 2567) | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รายการเหรียญรางวัล
| |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
BWF profile |
เดชาพลคบหาดูใจกับเอิร์ธ พุธิตา สุภจิรกุล อดีตนักแบดมินตันหญิงดีกรีทีมชาติไทยเป็นเวลา 2 ปี กระทั่งวันอังคารที่ 6 สิงหาคม 2567 เดชาพลที่เสร็จสิ้นภารกิจในโอลิมปิกฤดูร้อน 2024 ได้เดินทางกลับมายังประเทศไทยและคุกเข่าขอพุธิตาแต่งงาน[12]
คู่ผสม
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2019 | St. Jakobshalle, บาเซิล, สวิตเซอร์แลนด์ |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
8–21, 12–21 | เหรียญเงิน |
2021 | Palacio de los Deportes Carolina Marín, อวยลวา, สเปน |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
21–13, 21–14 | เหรียญทอง[13][14][15] |
คู่ผสม
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2017 | อู่ฮั่นยิมเนเซียม, อู่ฮั่น, จีน |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | หลู ไค หวง หย่าฉยง |
18–21, 11–21 | เหรียญเงิน |
2019 | อู่ฮั่นยิมเนเซียม, อู่ฮั่น, จีน |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | หวัง อี้ลวี่ หวง ตงผิง |
21–23, 10–21 | เหรียญทองแดง |
ชายคู่
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2017 | Axiata Arena, กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย |
กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | อ่อง เยว ซิน โตว อี ยี่ |
21–19, 20–22, 21–17 | เหรียญทอง |
คู่ผสม
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2017 | Axiata Arena, กัวลาลัมเปอร์, มาเลเซีย |
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | โก๊ะ ซุน ฮวด เชวอน เจมี ไล |
21–15, 22–20 | เหรียญทอง |
เยาวชน ชายคู่
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2014 | Stadium Sultan Abdul Halim, อาโลร์เซอตาร์, มาเลเซีย |
กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | มาซาฮิเดะ นากะตะ คัตสึกิ ทามะเตะ |
21–16, 21–18 | เหรียญทอง |
คู่ผสม
ปี | สถานที่ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2013 | Sport Institute Gymnasium, หนานจิง, จีน |
พุธิตา สุภจิรกุล | มิโนรุ โคกะ อาคาเนะ ยามากูจิ |
19–21, 21–9, 17-21 | เหรียญเงิน |
บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ ซึ่งถูกประกาศเมื่อวันที่ 19 มีนาคม ค.ศ. 2017 และเริ่มดำเนินการเมื่อปี 2018[16] เป็นรายการแข่งขันแบดมินตันระดับชั้นนำ รับรองโดย สหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) ทัวร์นาเมนต์ถูกแบ่งออกเป็นหลายระดับ ได้แก่ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์, ซูเปอร์ 1000, ซูเปอร์ 750, ซูเปอร์ 500, ซูเปอร์ 300 (ส่วนหนึ่งของ HSBC World Tour) และ ซูเปอร์ 100 [17]
คู่ผสม
ปี | รายการ | ระดับ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|---|
2018 | ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 300 | พุธิตา สุภจิรกุล | ชาน เป็ง ซุน โก๊ะ หลิว หยิง |
15–21, 21–14, 16–21 | รองชนะเลิศ |
2018 | เดนมาร์ก โอเพ่น | ซูเปอร์ 750 | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
16–21, 13–21 | รองชนะเลิศ |
2019 | ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 300 | ชาน เป็ง ซุน โก๊ะ หลิว หยิง |
16–21, 15–21 | รองชนะเลิศ | |
2019 | มาเลเซีย มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 500 | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
18–21, 18–21 | รองชนะเลิศ | |
2019 | สิงคโปร์ มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 500 | ตัน เคียน เหม็ง ไล่ เป่ย จิง |
21–14, 21–6 | ชนะเลิศ | |
2019 | โคเรีย โอเพ่น | ซูเปอร์ 500 | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
21–14, 21–13 | ชนะเลิศ | |
2019 | มาเก๊า โอเพ่น | ซูเปอร์ 300 | หวัง ฉีหลิน เจิ้ง ฉีหยา |
21–11, 21–8 | ชนะเลิศ | |
2020 | ออลอิงแลนด์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 1000 | ปราวีน จอร์แดน เมลาตี ดาเอวา อ็อกตาเวียนติ |
15–21, 21–17, 8–21 | รองชนะเลิศ | |
2020 (I) | ไทยแลนด์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 1000 | 21–3, 20–22, 21–18 | ชนะเลิศ | ||
2020 (II) | ไทยแลนด์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 1000 | ซอ ซึง-แจ แช ยู-จุง |
21–16, 22–20 | ชนะเลิศ | |
2020 | บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | 21–18, 8–21, 21–8 | ชนะเลิศ | ||
2021 | เดนมาร์ก โอเพ่น | ซูเปอร์ 1000 | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
18–21, 9–21 | รองชนะเลิศ | |
2021 | ไฮโล โอเพ่น | ซูเปอร์ 500 | ปราวีน จอร์แดน เมลาตี ดาเอวา อ็อกตาเวียนติ |
22–20, 21–14 | ชนะเลิศ | |
2021 | อินโดนีเซีย มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 750 | ถัง ชุน หมัน เซียะ อิ๋ง เสว่ |
21–11, 21–12 | ชนะเลิศ | |
2021 | อินโดนีเซีย โอเพ่น | ซูเปอร์ 1000 | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
21–12, 21–13 | ชนะเลิศ | |
2021 | บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | 21–19, 21–11 | ชนะเลิศ | ||
2022 | เยอรมัน โอเพ่น | ซูเปอร์ 300 | ตัน เคียน เหม็ง ไล่ เป่ย จิง |
21–11, 21–18 | ชนะเลิศ[18] | |
2022 | ไทยแลนด์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 500 | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
12–21, 21–18, 14–21 | รองชนะเลิศ | |
2022 | มาเลเซีย โอเพ่น | ซูเปอร์ 750 | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
13–21, 18–21 | รองชนะเลิศ | |
2022 | สิงคโปร์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 500 | หวัง อี้ลวี่ หวง ตงผิง |
21–12, 21–17 | ชนะเลิศ | |
2022 | เจแปน โอเพน | ซูเปอร์ 750 | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
16–21, 23–21, 21–18 | ชนะเลิศ | |
2022 | บีดับเบิลยูเอฟ เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | เวิลด์ทัวร์ไฟนัลส์ | เจิ้ง ซีเหวย์ หวง หย่าฉยง |
19–21, 21–18, 13–21 | รองชนะเลิศ | |
2023 | มาเลเซีย มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 500 | Feng Yanzhe Huang Dongping |
16–21, 21–13, 21–18 | ชนะเลิศ | |
2023 | ไทยแลนด์ โอเพ่น | ซูเปอร์ 500 | Kim Won-ho Jeong Na-eun |
21–11, 19–21, 20–22 | รองชนะเลิศ | |
2023 | เจแปน โอเพ่น | ซูเปอร์ 750 | ยูตะ วาตานาเบะ อาริสะ ฮิงาชิโนะ |
21–17, 16–21, 15–21 | รองชนะเลิศ | |
2024 | อินเดีย โอเพ่น | ซูเปอร์ 750 | Jiang Zhenbang Wei Yaxin |
21–16, 21–16 | ชนะเลิศ | |
ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 300 | Chen Tang Jie | 21–12, 21–18 | ชนะเลิศ | ||
2024 | เจแปน มาสเตอร์ส | ซูเปอร์ 500 | ศุภิสรา เพียวสามพราน | Thom Gicquel Delphine Delrue |
21–16, 10–21, 21–17 | ชนะเลิศ |
บีดับเบิลยูเอฟ ซูเปอร์ซีรีส์ เปิดตัวเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 2006 และดำเนินการเมื่อปี 2007[19] เป็นรายการแข่งขันแบดมินตันระดับชั้นนำ รับรองโดย สหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) โดยระดับของซูเปอร์ซีรีส์ ได้แก่ ซูเปอร์ซีรีส์ และซูเปอร์ซีรีส์ พรีเมียร์ ในแต่ละฤดูกาลประกอบไปด้วย 12 ทัวร์นาเมนต์ทั่วโลก ซึ่งถูกเปิดตัวตั้งแต่ปี 2011[20] ผู้เล่นที่ประสบความสำเร็จจะเข้าไปแข่งขันในซูเปอร์ซีรีส์ ไฟนัลส์ ซึ่งจะจัดขึ้นในทุก ๆ สิ้นปี
คู่ผสม
ปี | รายการ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2017 | สิงคโปร์ โอเพ่น | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | หลู ไค หวง หย่าฉยง |
21–19, 16–21, 11–21 | รองชนะเลิศ |
บีดับเบิลยูเอฟ กรังปรีซ์ มีทั้งหมด 2 ระดับ คือ กรังปรีซ์ และกรังปรีซ์ โกลด์ ซึ่งเป็นซีรีส์ของการแข่งขันแบดมินตัน รับรองโดยสหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF) มีการแข่งขันในระหว่าง ค.ศ. 2007 และ 2017
คู่ผสม
ปี | รายการ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2016 | ไซเอ็ด โมดี้ อินเตอร์เนชั่นแนล | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | ปราวีน จอร์แดน เด็บบี้ ซูซานโต |
25–23, 9–21, 16–21 | รองชนะเลิศ |
2016 | โคเรีย มาสเตอร์ส | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | โก ซอง-ฮยอน คิม ฮา-นา |
19–21, 16–21 | รองชนะเลิศ |
2017 | ไทยแลนด์ มาสเตอร์ส | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | จาง หนาน หลี่ หยิน ฮุ่ย |
11–21, 22–20, 13–21 | รองชนะเลิศ |
2017 | สวิส โอเพ่น | ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย | ปราวีน จอร์แดน เด็บบี้ ซูซานโต |
21–18, 21–15 | ชนะเลิศ |
ชายคู่
ปี | รายการ | คู่นักกีฬา | คู่ต่อสู้ | คะแนน | ผลการแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|
2014 | การการแข่งขันแบดมินตันนานาชาติ ปุ้มปุ้ยแชมเปี้ยนชิพ | กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | วัชระ บูรณะเครือ ตราวุธ โพธิ์เที่ยง |
21–12, 18–21, 14–21 | รองชนะเลิศ |
2016 | โปลิช โอเพ่น | กิตตินุพงษ์ เกตุเรน | Hardianto Kenas Adi Haryanto |
5–21, 21–18, 15–21 | รองชนะเลิศ |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.