365 ฟิล์ม เป็นชื่อของ กลุ่มผู้กำกับภาพยนตร์ไทย ที่จบการศึกษา นิเทศศาสตรบัณฑิต (การภาพยนตร์และภาพนิ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (เข้าเรียนเมื่อปีการศึกษา 2536) จำนวน 6 คน ที่เริ่มต้นจาก การร่วมกันกำกับภาพยนตร์ เรื่อง แฟนฉัน (2546) ที่เป็นผลงานการสร้างของ จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ฟิล์ม, ไท เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ และ หับ โห้ หิ้น ฟิล์ม อันเป็นที่มาของการรวมตัวกัน เป็น บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จำกัด (จีทีเอช) โดยชื่อกลุ่มมีที่มาจาก รหัสนักศึกษาของทั้ง 6 ที่ขึ้นต้นด้วยตัวเลข 365 ซึ่งสองตัวแรก หมายถึง ปีการศึกษา ที่ทั้ง 6 เข้าศึกษา (พ.ศ. 2536) และตัวหลัง เป็นหมายเลขชื่อคณะ
เรื่องตามลำดับปีที่ออกฉายของภาพยนตร์เรื่องต่าง ๆ
แฟนฉัน
- ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร, ทรงยศ สุขมากอนันต์, คมกฤษ ตรีวิมล, วิทยา ทองอยู่ยง, วิชชา โกจิ๋ว และ อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม)
- ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์)
- ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์)
- บันทึกเสียงยอดเยี่ยม (อมรพงศ์ เมธาคุณวุฒิ)
- กำกับภาพยอดเยี่ยม (ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร, ทรงยศ สุขมากอนันต์, คมกฤษ ตรีวิมล, วิทยา ทองอยู่ยง, อมราพร แผ่นดินทอง, วิชชา โกจิ๋ว และ อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม)
- ผู้กำกับการแสดงยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร, ทรงยศ สุขมากอนันต์, คมกฤษ ตรีวิมล, วิทยา ทองอยู่ยง, วิชชา โกจิ๋ว และ อดิสรณ์ ตรีสิริเกษม)
- ผู้แสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (เฉลิมพล ทิฆัมพรธีรวงศ์)
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- หมายเหตุ - ในปีนั้น สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงฯ งดการประกาศผล รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี
เพื่อนสนิท
- รางวัลภาพยนตร์แห่งชาติ สุพรรณหงส์ ครั้งที่ 15 ประจำปี พ.ศ. 2548 [4]
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิศ ณพิชญสุทิน)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชา โกจิ๋ว)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิศ ณพิชญสุทิน)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชา โกจิ๋ว)
- นักแสดงนำชายยอดเยี่ยม (ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (มณีรัตน์ คำอ้วน)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิศ ณพิชญสุทิน)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (ปาณิสรา พิมพ์ปรุ)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชา โกจิ๋ว)
- เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ช่างไม่รู้เลย)
- ภาพยนตร์ไทยแห่งปี
- นักแสดงชายในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี (ซันนี่ สุวรรณเมธานนท์)
- นักแสดงหญิงในบทนำจากภาพยนตรไทยแห่งปี (ศิรพันธ์ วัฒนจินดา)
- นักแสดงหญิงในบทสมทบแห่งปี (ปาณิสรา พิมพ์ปรุ)
- บทภาพยนตร์ไทยแห่งปี (นิธิศ ณพิชญสุทิน)
- เพลงในภาพยนตร์แห่งปี (ช่างไม่รู้เลย)
- รางวัล Starpics Thai Films Awards ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2548
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (คมกฤษ ตรีวิมล)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (มณีรัตน์ คำอ้วน)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิศ ณพิชญสุทิน)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (วิชชา โกจิ๋ว)
- หมายเหตุ - ในปีนั้น สมาคมผู้สื่อข่าวบันเทิงฯ งดการประกาศผล รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี
เด็กหอ
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชลลดา เตียวสุวรรณ, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์, ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- ผู้แสดงนำชายยอดเยี่ยม (ชาลี ไตรรัตน์)
- ผู้แสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (จินตหรา สุขพัฒน์)
- นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (ศิรชัช เจียรถาวร)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (จินตหรา สุขพัฒน์)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (พงศธร โกศลโพธิทรัพย์, วิชชา โกจิ๋ว)
- กำกับศิลป์ยอดเยี่ยม (เรวัตร กรวยทอง, คมกฤช ชักนำ, สุธรรม วิลาวัลย์เดช)
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (จินตหรา สุขพัฒน์)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชลลดา เตียวสุวรรณ, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์, ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- กำกับภาพยอดเยี่ยม (นิรมล รอสส์ )
- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (จินตหรา สุขพัฒน์)
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ชลลดา เตียวสุวรรณ, วรรณฤดี พงษ์สิทธิศักดิ์, ทรงยศ สุขมากอนันต์)
- เทศกาลภาพยนตร์ฟาทจ์แห่งอิหร่าน (Fajr Film Festival Iran) ครั้งที่ 25 ระหว่างวันที่ 1-11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 [11]
- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ทรงยศ สุขมากอนันต์) (Crystal Simorgh for Best Director สาขา Competition of Spiritual Cinema (Seeking the Truth))
- เทศกาลภาพยนตร์นานาชาติเบอร์ลิน เยอรมนี (Berlin International Film Festival) ค.ศ. 2007 [12] [13]
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ทรงยศ สุขมากอนันต์) (รางวัล Glass Bear สาย Generation Kplus - ตัดสินโดยกรรมการเด็ก 11 คน)
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม รองอันดับ 1 (ทรงยศ สุขมากอนันต์) (รางวัล Special Mention of Deutsches Kinderhilfswerk (German Child Support Organisation) สาย Generation Kplus ตัดสินโดยกรรมการผู้ใหญ่ 7 คน จากนานาชาติ)
Seasons Change เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย
- รางวัลพระราชทานพระสุรัสวดี ครั้งที่ 28 ประจำปี พ.ศ. 2549 [14]
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- ผู้กำกับยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร)
- ลำดับภาพยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร)
- คม ชัด ลึก อวอร์ด ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2549 [15]
- ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
- บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (อมราพร แผ่นดินทอง และ นิธิวัฒน์ ธราธร)
- ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (นิธิวัฒน์ ธราธร)
- นักแสดงสมทบชายยอดเยี่ยม (จุมพล ทองตัน)
- นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (ชุติมา ทีปะนาถ)
- เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (ฤดูที่แตกต่าง)
เก๋า..เก๋า
- ออกแบบและจัดเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม (เอกศิษฏ์ มีประเสริฐกุล)
- ออกแบบและจัดเครื่องแต่งกายยอดเยี่ยม (เอกศิษฏ์ มีประเสริฐกุล)