คำถามยอดนิยม
ไทมไลน์
แชท
มุมมอง
โกปาอาเมริกา 2015
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Remove ads
การแข่งขันฟุตบอล โกปาอาเมริกา เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับชาติรายการหลักสำหรับทีมชาติในทวีปอเมริกาใต้ ปัจจุบันได้จัดการแข่งขันที่ประเทศชิลีระหว่างวันที่ 11 มิถุนายน ถึง 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2558[1] นับเป็นครั้งที่ 44 ตั้งแต่มีการจัดขึ้น
Remove ads
อุรุกวัยเป็นทีมแชมป์เก่า แต่ตกรอบโดยเจ้าภาพในรอบก่อนรองชนะเลิศ มี 12 ทีมเข้าร่วมการแข่งขัน ประกอบด้วยชาติสมาชิกของคอนเมบอล 10 ชาติ และชาติรับเชิญจากคอนคาแคฟอีก 2 ชาติ คือ เม็กซิโกและจาเมกา ซึ่งชาติหลังนี้เพิ่งเข้าร่วมการแข่งขันโกปาอาเมริกาเป็นครั้งแรก ผู้ชนะการแข่งขันนี้จะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ที่ประเทศรัสเซีย
Remove ads
สนามแข่งขัน
การแข่งขันนี้จะใช้สนาม 9 สนามซึ่งตั้งอยู่ใน 8 เมือง สนามส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่างการบูรณะหรือสร้างขึ้นมาใหม่
Remove ads
รอบแบ่งกลุ่ม
สรุป
มุมมอง
รายการการแข่งขันได้ประกาศออกมาเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557[10]
กลุ่มเอ
11 มิถุนายน 2558 | |||
ชิลี ![]() | 2–0 | ![]() | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
12 มิถุนายน 2558 | |||
เม็กซิโก ![]() | 0–0 | ![]() | สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์ |
15 มิถุนายน 2558 | |||
เอกวาดอร์ ![]() | 2–3 | ![]() | สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ |
ชิลี ![]() | 3–3 | ![]() | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
19 มิถุนายน 2558 | |||
เม็กซิโก ![]() | 1–2 | ![]() | สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา |
ชิลี ![]() | 5–0 | ![]() | สนามกีฬาแห่งชาติ, ซานเตียโก |
กลุ่มบี
13 มิถุนายน 2558 | |||
อุรุกวัย ![]() | 1–0 | ![]() | สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา |
อาร์เจนตินา ![]() | 2–2 | ![]() | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
16 มิถุนายน 2558 | |||
ปารากวัย ![]() | 1–0 | ![]() | สนามกีฬาแคว้นอันโตฟากัสตา, อันโตฟากัสตา |
อาร์เจนตินา ![]() | 1–0 | ![]() | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
20 มิถุนายน 2558 | |||
อุรุกวัย ![]() | 1–1 | ![]() | สนามกีฬาลาปอร์ตาดา, ลาเซเรนา |
อาร์เจนตินา ![]() | 1–0 | ![]() | สนามกีฬาเซาซาลีโต, บีญาเดลมาร์ |
กลุ่มซี
14 มิถุนายน 2558 | |||
โคลอมเบีย ![]() | 0–1 | ![]() | สนามกีฬาเอลเตเนียนเต, รังกากวา |
บราซิล ![]() | 2–1 | ![]() | สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก |
17 มิถุนายน 2558 | |||
บราซิล ![]() | 0–1 | ![]() | สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก |
18 มิถุนายน 2558 | |||
เปรู ![]() | 1–0 | ![]() | สนามกีฬาเอลีอัส ฟีเกโรอา, บัลปาราอีโซ |
21 มิถุนายน 2558 | |||
โคลอมเบีย ![]() | 0–0 | ![]() | สนามกีฬาเทศบาลเคร์มัน เบเกร์, เตมูโก |
บราซิล ![]() | 2–1 | ![]() | สนามกีฬาอนุสรณ์ดาบิด อาเรยาโน, ซานเตียโก |
ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3
Remove ads
รอบแพ้คัดออก
สรุป
มุมมอง
รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | ||||||||
24 มิถุนายน – ซานเตียโก | ||||||||||
![]() |
1 | |||||||||
29 มิถุนายน – | ||||||||||
![]() |
0 | |||||||||
![]() |
2 | |||||||||
25 มิถุนายน – เตมูโก | ||||||||||
![]() |
1 | |||||||||
![]() |
1 | |||||||||
4 กรกฎาคม – ซานเตียโก | ||||||||||
![]() |
3 | |||||||||
![]() |
0 (4) | |||||||||
26 มิถุนายน – บีญาเดลมาร์ | ||||||||||
![]() |
0 (1) | |||||||||
![]() |
0 (5) | |||||||||
30 มิถุนายน – กอนเซปซีออน | ||||||||||
![]() |
0 (4) | |||||||||
![]() |
6 | อันดับที่สาม | ||||||||
27 มิถุนายน – กอนเซปซีออน | ||||||||||
![]() |
1 | 3 กรกฎาคม – กอนเซปซีออน | ||||||||
![]() |
1 (3) | |||||||||
![]() |
2 | |||||||||
![]() |
1 (4) | |||||||||
![]() |
0 | |||||||||
รอบก่อนรองชนะเลิศ
รอบรองชนะเลิศ
สนามกีฬาเทศบาลกอนเซปซีออน, กอนเซปซีออน
ผู้ตัดสิน: ซังดรู ริชชี (บราซิล)
นัดชิงอันดับที่ 3
รอบชิงชนะเลิศ
Remove ads
อันดับดาวซัลโว
- 4 ประตู
เอดัวร์โด บาร์กัส
ปาโอโล เกร์เรโร
- 3 ประตู
- 2 ประตู
อังเคล ดี มารีอา
กอนซาโล อีกวาอิน
มาร์เซโล มาร์ตินส์ โมเรโน
ชาร์เลส อารังกิซ
มิลเลร์ โบลาญอส
เอเนร์ บาเลนเซีย
ราอุล คีเมเนซ
มาตีอัส บูโอโซ
- 1 ประตู
เลียวเนล เมสซี
คาเบียร์ ปัสโตเร
มาร์โกส โรโค
โรนัลด์ รัลเดส
มาร์ติส สเมดเบร์ก-ดาเลนเซ
โดกลัส กอสตา
เนย์มาร์
โรแบร์ตู ฟีร์มีนู
โรบินยู
ชียากู ซิลวา
เมารีซีโอ อิสลา
การี เมเดล
อาเลกซิส ซานเชซ
เยย์ซอน มูรีโย
เอดการ์ เบนีเตซ
เดร์ลิส กอนซาเลซ
เนลซอน อาเอโด บัลเดซ
กริสเตียน กูเอบา
คลาวดีโอ ปีซาร์โร
โคเซ คีเมเนซ
กริสเตียน โรดรีเกซ
มีกู
ซาโลมอน รอนดอน
- การทำเข้าประตูตัวเอง
แหล่งที่มา : CONMEBOL.com[13]
Remove ads
สถิติ
รางวัล
- รางวัลผู้เล่นทรงคุณค่า:
- รางวัลดาวซัลโวสูงสุด:
ปาโอโล เกร์เรโร,
เอดวร์โด บาร์กัส
- รางวัลนักเตะดาวรุ่งยอดเยี่ยม:
เยย์ซอน มูรีโย
- รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม:
เกลาดีโอ บราโบ
- รางวัลทีมแฟร์เพลย์:
เปรู
ทีมยอดเยี่ยมประจำทัวร์นาเมนต์
Remove ads
ตารางการจัดอันดับหลังจบการแข่งขัน
Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.
Remove ads
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Remove ads