สงครามโปแลนด์-โซเวียต[N 1] (ปลายฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1918 / 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919[1] – 18 มีนาคม ค.ศ. 1921) เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่างรัสเซียโซเวียตและยูเครนโซเวียตฝ่ายหนึ่งกับสาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 และสาธารณรัฐประชาชนยูเครนอีกฝ่ายหนึ่งเหนือการควบคุมดินแดนซึ่งเทียบเท่ากับประเทศยูเครนและบางส่วนของประเทศเบลารุสปัจจุบัน สุดท้ายฝ่ายโซเวียต หลังการรุกไปทางตะวันตก ค.ศ. 1918–1919 หวังยึดครองโปแลนด์อย่างสมบูรณ์ และในบางช่วงของสงครามก็ดูเป็นไปได้
ข้อมูลเบื้องต้น สงครามโปแลนด์–โซเวียต, วันที่ ...
สงครามโปแลนด์–โซเวียต |
---|
ส่วนหนึ่งของ การทัพในยุโรปตะวันออก ซึ่งรวมแนวรบด้านใต้ในสงครามกลางเมืองรัสเซีย, สงครามประกาศอิสรภาพยูเครน และสงครามประกาศอิสรภาพลิทัวเนีย |
ทหารโปแลนด์กำลังยึดธงชัยของกองทัพแดงหลังยุทธการที่วอร์ซอ (ค.ศ. 1920) |
วันที่ | ปลายฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1918 / 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1919[1] – 18 มีนาคม ค.ศ. 1921 |
---|
สถานที่ | ยุโรปกลางและตะวันออก |
---|
ผล |
โปแลนด์ชนะ
|
---|
ดินแดน เปลี่ยนแปลง |
- โปแลนด์ยึดครองยูเครนตะวันตกและเบลารุสตะวันตก (เกรซือในโปแลนด์สมัยระหว่างสงคราม) ในปัจจุบัน
- กองทัพโซเวียตยึดครองยูเครนตะวันออกและเบลารุสตะวันออกในปัจจุบัน
|
---|
|
คู่สงคราม |
---|
Russian SFSR สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย โปลเรวกอม
|
โปแลนด์ สาธารณรัฐประชาชนยูเครน[lower-alpha 1] ลัตเวีย[lower-alpha 2]
- แม่แบบ:Country data Kingdom of Hungary (1920-1946)
- ฝรั่งเศส
|
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ |
---|
วลาดีมีร์ เลนิน เลออน ทรอตสกี เซอร์เกย์ คาเมเนฟ โจเซฟ สตาลิน มีคาอิล ตูคาเชฟสกี เซมิออน บูดิออนนืย August Kork Hayk Bzhishkyan นิโคไล ซอลโลกุบ อเล็กซานเดอร์ เยโกรอฟ อาเล็กซันดร์ วาซิเลฟสกี |
ยูแซฟ ปิวซุดสกี Józef Haller Franciszek Latinik ตาเดอุช รอซวาดอฟสกี ววาดือสวัฟ ซีกอร์สกี Kazimierz Sosnkowski Leonard Skierski แอดวาร์ด รึดซ์-ชมิกวือ Stanisław Szeptycki ซือมอน แปตลูรา |
กำลัง |
---|
ต้น ค.ศ. 1919: ~50,000 นาย[2] ฤดูร้อน ค.ศ. 1920: 800,000–950,000 นาย[3] |
ต้น ค.ศ. 1919: ~80,000 นาย[4] ฤดูร้อน ค.ศ. 1920: ประมาณ 1,000,000 นาย[5] |
ความสูญเสีย |
---|
ถูกฆ่าประมาณ 60,000 นาย[6] ถูกจับกุมประมาณ 80,000–85,000 นาย[7] |
ถูกฆ่า 47,551 นาย[8][9][10] หายตัว 51,351 นาย[8] บาดเจ็บ 113,518 นาย[10] ถูกจับกุมประมาณ 51,000 นาย[7][10] |
ปิด
ยูแซฟ ปิวซุดสกี (Józef Piłsudski) ประมุขแห่งรัฐโปแลนด์ รู้สึกว่าสบเวลาเหมาะในการขยายชายแดนโปแลนด์ไปทางตะวันออกให้ไกลที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ ตามด้วยสหพันธรัฐอินเตอร์มาเรียม (Intermarium) รัฐยุโรปตะวันออก-กลางที่มีโปแลนด์เป็นผู้นำให้เป็นกำแพงต่อการกำเนิดใหม่ของจักรวรรดินิยมเยอรมันและรัสเซีย ขณะเดียวกัน เลนินซึ่งมองโปแลนด์ว่าเป็นสะพานที่กองทัพแดงต้องข้ามเพื่อสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์อื่นและนำการปฏิวัติยุโรปอื่นอีก ใน ค.ศ. 1919 กองทัพโปแลนด์ควบคุมเวสเทิร์นยูเครนเป็นบริเวณกว้าง หลังเป็นผู้ชนะจากสงครามโปแลนด์–ยูเครน สาธารณรัฐประชาชนเวสเทิร์นยูเครน ซึ่งมี Yevhen Petrushevych เป็นผู้นำ พยายามสร้างรัฐยูเครนบนดินแดนซึ่งทั้งฝ่ายโปแลนด์และยูเครนอ้างสิทธิ์ ขณะเดียวกัน ยูเครนส่วนของรัสเซีย ซีมอน เปตลูย์รา (Symon Petliura) พยายามป้องกันและเสริมสร้างสาธารณรัฐประชาชนโปแลนด์ แต่เมื่อบอลเชวิคเริ่มเป็นฝ่ายได้เปรียบในสงครามกลางเมืองรัสเซีย พวกเขาเริ่มรุกไปทางตะวันตกสู่ดินแดนยูเครนส่วนพิพาท ทำให้กำลังของ เปตลูย์รา ถอยไปโปโดเลีย เมื่อสิ้น ค.ศ. 1919 มีการตั้งแนวร่วมชดเจนเมื่อ เปตลูย์รา ตัดสินใจเป็นพันธมิตรกับปิลซุดสกี การปะทะชายแดนบานปลายระหว่างการรุกเคียฟของปิลซุดสกีในเดือนเมษายน ค.ศ. 1920 การรุกของโปแลนด์ถูกกองทัพแดงตีโต้ตอบสำเร็จในทีแรก ปฏิบัติการของโซเวียตขับกองทัพโปแลนด์ถอยไปทางตะวันตกถึงกรุงวอร์ซอ เมืองหลวงของโปแลนด์ ขณะที่หน่วยอำนวยการยูเครนหนีไปยุโรปตะวันตก ขณะเดียวกัน ตะวันตกกลัวว่ากองทัพโซเวียตที่เข้าใกล้ชายแดนเยอรมันเพิ่มความสนใจในสงครามของชาติตะวันตก กลางฤดูร้อน ดูเหมือนกรุงวอร์ซอจะเสียแน่นอน แต่ในกลางเดือนสิงหาคม กระแสก็พลิกอีกครั้ง เมื่อกองทัพโปแลนด์ได้ชัยอย่างคาดไม่ถึงและเด็ดขาดในยุทธการที่วอร์ซอ ในห้วงที่โปแลนด์รุกไปทางตะวันออก ฝ่ายโซเวียตขอเจรจาสันติภาพและสงครามยุติด้วยการหยุดยิงในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1920
มีการลงนามสนธิสัญญาสันติภาพริกา สนธิสัญญาสันติภาพอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1921 ซึ่งแบ่งดินแดนพิพาทระหว่างโปแลนด์และโซเวียตรัสเซีย สงครามนี้เป็นตัวตัดสินใหญ่ซึ่งชายแดนโซเวียต–โปแลนด์ระหว่างสงครามโลก ดินแดนกวางใหญ่ที่จัดสรรให้โปแลนด์ในสนธิสัญญาริกากลายเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อชายแดนตะวันออกของโปแลนด์ถูกฝ่ายสัมพันธมิตรกำหนดใหม่ให้สอดคล้องใกล้เคียงกับแนวเคอร์ซอน (Curzon Line) ค.ศ. 1920
ภาษาอื่น ๆ:
- โปแลนด์: Wojna polsko-bolszewicka, wojna polsko-sowiecka, wojna polsko-rosyjska 1919–1921, wojna polsko-radziecka (สงครามโปแลนด์–บอลเชวิค, สงครามโปแลนด์–โซเวียต, สงครามโปแลนด์–รัสเซีย ค.ศ. 1919–1921)
- รัสเซีย: Советско-польская война (Sovetsko-polskaya voyna, สงครามโซเวียต-โปแลนด์), Польский фронт (Polsky front, แนวรบโปแลนด์)
Andrzej Chwalba, Przegrane zwycięstwo. Wojna polsko-bolszewicka 1918–1920 [The Lost Victory: Polish–Bolshevik War 1918–1920], Wydawnictwo Czarne, Wołowiec 2020, ISBN 978-83-8191-059-0, p. 13.
Antoni Czubiński, "Historia Polski XX wieku" [The history of 20th Century Poland], Wydawnictwo Nauka i Innowacje, Poznań 2012, ISBN 978-83-63795-01-6, pp. 115–118.
Andrzej Chwalba, Przegrane zwycięstwo. Wojna polsko-bolszewicka 1918–1920 [The Lost Victory: Polish–Bolshevik War 1918–1920], pp. 306–307.
Andrzej Chwalba, Przegrane zwycięstwo. Wojna polsko-bolszewicka 1918–1920 [The Lost Victory: Polish–Bolshevik War 1918–1920], pp. 279–281.
(ในภาษาโปแลนด์) Karpus, Zbigniew, Alexandrowicz Stanisław, Waldemar Rezmer, Zwycięzcy za drutami. Jeńcy polscy w niewoli (1919–1922). Dokumenty i materiały (Victors Behind Barbed Wire: Polish Prisoners of War, 1919–1922: Documents and materials), Toruń, Wydawnictwo Uniwersytetu Mikołaja Kopernika w Toruniu, 1995, ISBN 978-83-231-0627-2.
- Dąbrowski, Stanisław. "The Peace Treaty of Riga." The Polish Review (1960) 5#1: 3-34. Online
- Babel', Isaak Emmanuilovich (2003). Babel, Nathalie; Constantine, Peter (บ.ก.). Red Cavalry [Конармия]. New York: W.W. Norton. ISBN 978-0-393-32423-5.
- Davies, Norman Richard (2003) [1972]. White Eagle, Red Star: the Polish-Soviet War, 1919–20 (New ed.). New York: Pimlico / Random House Inc. ISBN 978-0-7126-0694-3.
- Fiddick, Thomas C. "The 'Miracle of the Vistula': Soviet Policy versus Red Army Strategy", The Journal of Modern History, vol. 45, no. 4 (Dec. 1973), pp. 626–643.
- Fiddick, Thomas C. Russia's Retreat from Poland, 1920, Macmillan Press, 1990, ISBN 978-0-333-51940-0
- Materski, Wojciech. "The Second Polish Republic in Soviet Foreign Policy (1918–1939)." Polish Review 45.3 (2000): 331–345. online
- Ponichtera, Robert M. and David R. Stone, "The Russo-Polish War", The Military History of the Soviet Union New York, Palgrave, 2002, ISBN 978-0-312-29398-7.
- Wandycz, Piotr, "General Weygand and the Battle of Warsaw", Journal of Central European Affairs, 1960.
- Watt, Richard M., Bitter Glory: Poland and Its Fate, 1918–1939, New York, Hippocrene Books, 1998, ISBN 978-0-7818-0673-2.
- Zamoyski, Adam. 0-00-722552-0 Warsaw 1920: Lenin's Failed Conquest of Europe. Harper Collins, 2008. ISBN 978-0-00-722552-1
ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ
โปแลนด์
- Cisek, Janusz (1990). Sąsiedzi wobec wojny 1920 roku. Wybór dokumentów. (transl. Neighbors Attitude Towards the War of 1920. A collection of documents.). London: Polish Cultural Foundation Ltd. ISBN 978-0-85065-212-3.
- Czubiński, Antoni, Walka o granice wschodnie Polski w latach 1918–1921 (Fighting for eastern borders of Poland in 1918–1921), Instytut Śląski w Opolu, Opole, 1993
- Drozdzowski, Marian Marek (ed.), Międzynarodowe aspekty wojny polsko-bolszewickiej, 1919–1920. Antologia tekstów historycznych (International aspects of the Polish-Bolshevik War, 1919–1920. Anthology of historical texts.), Instytut Historii PAN, 1996, ISBN 978-83-86417-21-6
- Golegiewski, Grzegorz, Obrona Płocka przed bolszewikami, 18–19 sierpnia 1920 r. (Defence of Płock from the Bolsheviks, 18–19 August 1920), NOVUM, 2004, ISBN 978-83-89416-43-8
- Kawalec, Tadeusz. Historia IV-ej Dywizji Strzelców Generała Żeligowskiego w zarysie (History of 4th Rifleman Division of General Żeligowki in brief), Gryf, 1993, OCLC 32178695.
- Konieczny, Bronisław. Moje życie w mundurze. Czasy narodzin i upadku II RP (My life in the uniform. Times of the birth and fall of the Second Polish Republic), Księgarnia Akademicka, 2005 ISBN 978-83-7188-693-5
- Kopański, Tomasz Jan, 16 (39-a) Eskadra Wywiadowcza 1919–1920 (16th (39th) Scouting Escadrille 1919–1920), Wojskowy Instytut Historyczny, 1994, ISBN 978-83-901733-5-1
- Kukiel, Marian, Moja wojaczka na Ukrainie. Wiosna 1920 (My fighting in Ukraine. Spring 1920), Wojskowy Instytut Historyczny, 1995, ISBN 978-83-85621-74-4
- Łukowski, Grzegorz. Walka Rzeczpospolitej o kresy północno-wschodnie, 1918–1920. Polityka i dzialania militarne. (Rzeczpospolita's fight for the northeastern borderlands, 1918–1920. Politics and military actions.), Wydawnictwo Naukowe Universytetu Adama Mickiewicza, Poznań, 1994, ISBN 978-83-232-0614-9
- Pruszyński, Mieczysław. Dramat Piłsudskiego: Wojna 1920 (The drama of Piłsudski: War of 1920), Polska Oficyna Wydawnicza BGW, 1995, ISBN 978-83-7066-560-9
- Odziemkowski, Janusz. Leksykon Wojny Polsko-Rosyjskiej 1919–1920 (Lexicon of Polish-Russian War 1919–1920), Rytm, 2004, ISBN 978-83-7399-096-8
- Rozstworowski, Stanisław (ed.), Listy z wojny polsko-bolszewickiej (Letters from the Polish-Bolshevik War), Adiutor, 1995, ISBN 978-83-86100-11-8
- Sikorski, Władysław (1991) [1928]. Nad Wisłą i Wkrą. Studium do polsko–radzieckiej wojny 1920 roku (transl. At Vistula and Wkra: Study of the Polish-Soviet War of 1920) (latest ed.). Warsaw: Agencja Omnipress. ISBN 978-83-85028-15-4.
- Szczepański, Janusz (1995). Wojna 1920 na Mazowszu i Podlasiu (transl. War of 1920 in Mazovia and Podolia). Wyższa Szkoła Humanistyczna / Gryf. ISBN 978-83-86643-30-1.