ฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ (อาหรับ: منتخب مصر لكرة القدم รู้จักกันในฉายา "ฟาโรห์")[1] เป็นทีมฟุตบอลชายตัวแทนของประเทศอียิปต์ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลอียิปต์ (EFA) ซึ่งก่อตั้งในปี ค.ศ. 1921 และเป็นผู้ควบคุมฟุตบอลในประเทศอียิปต์ ทีมชาติอียิปต์เคยใช้สนามกีฬานานาชาติไคโรเป็นสนามเหย้า แต่ในปี ค.ศ. 2012 ได้ย้ายไปเล่นที่สนามกีฬาบุรญุลอะร็อบในอเล็กซานเดรีย ผู้จัดการทีมในปัจจุบันคือ อีฮาบ ญะลาล

ข้อมูลเบื้องต้น ฉายา, สมาคม ...
อียิปต์
ฉายาالفراعنة
(ฟาโรห์)[1]
มัมมี่ (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลอียิปต์
สมาพันธ์ย่อยUNAF (แอฟริกาเหนือ)
สมาพันธ์ซีเอเอฟ (แอฟริกา)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนอีฮาบ ญะลาล
กัปตันมุฮัมมัด เศาะลาห์
ติดทีมชาติสูงสุดอะห์มัด ฮะซัน (184)
ทำประตูสูงสุดฮัสซาม ฮะซัน (68)
สนามเหย้าสนามกีฬานานาชาติไคโร
สนามกีฬาบุรญุลอะร็อบ (ชั่วคราว)
รหัสฟีฟ่าEGY
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 36 เพิ่มขึ้น 1 (20 มิถุนายน 2024)[2]
อันดับสูงสุด9 (กรกฎาคม-กันยายน ค.ศ. 2010, ธันวาคม ค.ศ. 2010)
อันดับต่ำสุด75 (มีนาคม ค.ศ. 2013)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 2–1 อียิปต์ ธงชาติอียิปต์
(เกนต์ ประเทศเบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ชนะสูงสุด
ธงชาติสหสาธารณรัฐอาหรับ สหสาธารณรัฐอาหรับ 15–0 ลาว [[Image:{{{flag alias-1952}}}|22x20px|border |ธงชาติลาว]]
(จาการ์ตา ประเมซอินโดนีเซีย; 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 1963)
แพ้สูงสุด
ธงชาติอิตาลี อิตาลี 11–3 อียิปต์ ธงชาติอียิปต์
(อัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์; 10 มิถุนายน ค.ศ. 1928)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม3 (ครั้งแรกใน 1934)
ผลงานดีที่สุดรอบ 16 ทีมสุดท้าย (1934)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม25 (ครั้งแรกใน 1957)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008 และ 2010)
อาหรับคัพ
เข้าร่วม5 (ครั้งแรกใน 1985)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ (1992)
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 1999)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (1999 และ 2009)
ปิด

อียิปต์เป็นทีมชาติที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในทวีปแอฟริกา โดยคว้าแชมป์แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ถึง 7 สมัย ในปี 1957, 1959 (เจ้าภาพ), 1986, 1998, 2006, 2008 และ 2010 อันดับโลกฟีฟ่าที่สูงที่สุดคืออันดับที่ 9 ทำให้เป็นหนึ่งในสามทีมชาติของแอฟริกาที่เคยติด 10 อันดับแรกของฟีฟ่า อียิปต์ปรากฏตัวในฟุตบอลโลก 3 ครั้ง ในปี 1934, 1990 และ 2018 และเป็นทีมแรกในแอฟริกาและตะวันออกกลางที่ผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก

อียิปต์ผ่านเข้าไปเล่นรอบสุดท้ายของแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2017 และจบอันดับรองชนะเลิศ หลังจากแพ้นัดชิงชนะเลิศให้แก่แคเมอรูน การแข่งขันครั้งนี้ ทำให้อันดับโลกฟีฟ่าขยับไปถึงอันดับที่ 19 ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2017

วันที่ 8 ตุลาคม ค.ศ. 2017 อียิปต์ผ่านรอบคัดเลือกและได้ไปเล่นรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2018 เป็นครั้งแรกในรอบ 28 ปี และเป็นครั้งที่สามที่ทีมได้ปรากฏตัวในการแข่งขันรายการนี้

สถิติ

ณ วันที่ 26 มกราคม 2022[3]

ผู้เล่นตัวหนา หมายถึง ผู้เล่นที่ยังคงเล่นให้แก่ทีมชาติในปัจจุบัน

ลงเล่นมากที่สุด

ข้อมูลเพิ่มเติม #, ผู้เล่น ...
รายการผู้เล่นที่ลงเล่นมากที่สุด[4]
# ผู้เล่น ลงเล่น (นัด) ประตู ช่วงปี (ค.ศ.)
1Ahmed Hassan184331995–2012
2Hossam Hassan169691985–2006
3อิศอม อัลฮะเฎาะรี15601996–2018
4อะห์มัด ฟัตฮี13632002–ปัจจุบัน
4Ibrahim Hassan131141988–2002
6Hany Ramzy12331988–2003
7Wael Gomaa11412001–2013
8Ahmed El Kass112251987–1997
Abdel Zaher El Sakka11241997–2010
10Rabie Yassin10911982–1991
ปิด

ทำประตูสูงสุด

ข้อมูลเพิ่มเติม #, ผู้เล่น ...
รายการผู้เล่นที่ทำประตูสูงสุด[4]
# ผู้เล่น ประตู ลงเล่น (นัด) ประตูต่อนัดโดยเฉลี่ย ช่วงปี (ค.ศ.)
1Hossam Hassan691690.411985–2006
2Hassan El Shazly42620.681961–1975
3Mohamed Abou Trika381000.382001–2013
4มุฮัมมัด เศาะลาห์46790.582011–ปัจจุบัน
5Ahmed Hassan331840.181995–2012
6Amr Zaki30630.482004–2013
7Emad Moteab28700.402004–2015
8Ahmed El Kass251120.221987–1997
9Mahmoud El Khatib24540.441974–1986
10Gamal Abdel Hamid24790.301979–1993
ปิด

อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง

เกียรติประวัติ

แอฟริกา

ชนะเลิศ (7): 1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008, 2010 (ชนะเลิศมากที่สุด)
รองชนะเลิศ (3): 1962, 2017, 2021
อันดับที่สาม (3): 1963, 1970, 1974
อันดับที่สี่ (3): 1976, 1980, 1984
ชนะเลิศ (2): 1 1987, 1 1995
อันดับที่สาม (1): 3 1973
  • แอโฟรเอเชียนคัพออฟเนชันส์
รองชนะเลิศ (2): 2 1988, 2007
  • ไนล์เบซินทัวร์นาเมนต์
ชนะเลิศ (1): 1 2011

อาหรับ

  • แพนอารบิกเกมส์
ชนะเลิศ (4): 1 1953, 1 1965, 1 1992, 1 2007 (ชนะเลิศมากที่สุด)
รองชนะเลิศ (1): 2 1961
  • อาหรับคัพออฟเนชันส์
ชนะเลิศ (1): 1 1992
อันดับที่สาม (1): 3 1988
  • ปาเลสไตน์คัพออฟเนชันส์
ชนะเลิศ (2): 1 1972,1 1975 (ชนะเลิศมากที่สุด)

อื่น ๆ

เมดิเตอร์เรเนียนเกมส์

ชนะเลิศ (1): 1 1955
เหรียญเงิน (1): 2 1951
เหรียญทองแดง (1): 3 1983

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.