Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลทีมชาติบรูไน (มลายู: Pasukan bola sepak kebangsaan Brunei; ทางฟีฟ่ายอมรับเป็น บรูไนดารุสซาลาม)[3] เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศบรูไน ควบคุมโดย สมาคมฟุตบอลแห่งบรูไน ทีมก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2502 และเข้าร่วมฟีฟ่าในปี พ.ศ. 2539 และปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ เอเอฟซี ทีมชาติบรูไนยังไม่มีผลงานในระดับฟุตบอลโลก และระดับฟุตบอลเอเชีย แต่ในระดับอาเซียน ได้ร่วมเล่นในไทเกอร์คัพ 1 ครั้ง ในปี 2539
ฉายา | Tebuan (ต่อ) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลแห่งบรูไนดารุสซาลาม | ||
สมาพันธ์ย่อย | เอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (เอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | มาริโอ ริเบรา | ||
กัปตัน | เฮินดรา อาซัม อิดริส | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | อัซวาน ซาเละฮ์ (30) | ||
ทำประตูสูงสุด | ชะฮ์ ราเซิน ซาอิด (8) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาแห่งชาติ ฮัสซานัล โบลเกียห์ | ||
รหัสฟีฟ่า | BRU | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 191 3 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 140 (ธันวาคม ค.ศ. 1992) | ||
อันดับต่ำสุด | 203 (ตุลาคม ค.ศ. 2012) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
มาเลเซีย 8–0 บรูไน (กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย; 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1971)[2] | |||
ชนะสูงสุด | |||
บรูไน 4–0 ติมอร์-เลสเต (กูจิง ประเทศมาเลเซีย; 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016) บรูไน 6–2 ติมอร์-เลสเต (บันดาร์เซอรีเบอกาวัน ประเทศบรูไน; 5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2022) | |||
แพ้สูงสุด | |||
บรูไน 0–12 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (บันดาร์เซอรีเบอกาวัน ประเทศบรูไน; 14 เมษายน ค.ศ. 2001) | |||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน | |||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 1996) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบกลุ่ม (1996, 2022) | ||
เอเอฟซีแชลเลนจ์คัพ | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2006) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบกลุ่ม (2006) | ||
AFC Solidarity Cup | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 2016) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4 (2016) | ||
เว็บไซต์ | the-fabd.com |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.