Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2016 (อังกฤษ: 2016 FIFA Club World Cup) หรือ ฟีฟ่าคลับเวิลด์คัพเจแปน 2016 พรีเซนเท็ดบายอาลีบาบาอีออโต ตามชื่อของผู้สนับสนุน[2] เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ครั้งที่ 13 จัดขึ้นโดยฟีฟ่า ซึ่งจะมีทีมที่เป็นแชมป์ของการแข่งขันฟุตบอลถ้วยของทวีปทั้ง 6 ทวีปมาแข่งขัน โดยครั้งนี้จัดขึ้นที่ประเทศญี่ปุ่น[3]
FIFA Club World Cup Japan 2016 FIFAクラブワールドカップ ジャパン2016 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | ญี่ปุ่น |
วันที่ | 8–18 ธันวาคม พ.ศ. 2559 |
ทีม | 7 (จาก 6 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 2 (ใน 2 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | เรอัลมาดริด (สมัยที่ 2nd) |
รองชนะเลิศ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส |
อันดับที่ 3 | อัตเลติโก นาซิอองนาล |
อันดับที่ 4 | อาเมริกา |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 8 |
จำนวนประตู | 28 (3.5 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 238,428 (29,804 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | คริสเตียโน โรนัลโด (4 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | คริสเตียโน โรนัลโด[1] |
รางวัลแฟร์เพลย์ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส[1] |
ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ได้มีการยืนยันว่าในการแข่งขันนี้จะสามารถใช้การเปลี่ยนผู้เล่นสำรองได้ในช่วงการต่อเวลาพิเศษเป็นครั้งแรกของการแข่งขันฟุตบอล[4]
การคัดเลือกที่มีขึ้นสำหรับปี 2015–2016 รวมถึง 2017–2018 เช่นการใช้ 2 ประเทศเจ้าภาพ ประเทศละ 2 ปี โดยเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557[5] สมาชิกของฟีฟ่าที่สนใจจะเป็นเจ้าภาพสามารถยื่นข้อเสนอได้ตั้งแต่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2557 และส่งเอกสารในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2557[6] โดยคณะกรรมการของฟีฟ่าจะคัดเลือกเจ้าภาพในการประชุมที่ประเทศโมร็อกโก ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2557[7] อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีการตัดสินใจสำหรับเจ้าภาพในปี 2015–16 จนถึงช่วงปี พ.ศ. 2558
โดยรายชื่อด้านล่างนี้คือประเทศที่สนใจในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันรายการนี้:[8]
ทำให้ประเทศญี่ปุ่นได้รับการยืนยันให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2015 และ 2016 ในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2558[3]
หมายเหตุ: ข้อมูลด้านล่างนี้อ้างอิงจากการจัดการแข่งขันของฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก ซึ่งจัดโดยฟีฟ่า
สโมสร | สมาพันธ์ฟุตบอล | คุณสมบัติ | วันที่เข้ารอบ | การเข้าร่วม |
---|---|---|---|---|
เข้ารอบรองชนะเลิศ | ||||
อัตเลติโก นาซิอองนาล | คอนเมบอล | สโมสรชนะเลิศ โคปาลิเบอร์ตาดอเรส 2016 | 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 | 1 |
เรอัลมาดริด | ยูฟ่า | สโมสรชนะเลิศ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2015–16 | 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 | 3 (ครั้งทีผ่านมา: 2000, 2014) |
เข้ารอบก่อนรองชนะเลิศ | ||||
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | เอเอฟซี | สโมสรชนะเลิศ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 | 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 | 2 (ครั้งที่ผ่านมา: 2006) |
มาเมโลดี ซันดาวน์ส | ซีเอเอฟ | สโมสรชนะเลิศ ซีเอเอฟแชมเปียนส์ลีก 2016 | 23 ตุลาคม พ.ศ. 2559 | 1 |
อาเมริกา | คอนคาแคฟ | สโมสรชนะเลิศ คอนคาแคฟแชมเปียนส์ลีก 2015–16 | 27 เมษายน พ.ศ. 2559 | 3 (ครั้งทีผ่านมา: 2006, 2015) |
เข้ารอบเพลย์ออฟ | ||||
ออกแลนด์ ซิตี | โอเอฟซี | สโมสรชนะเลิศ โอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2016 | 23 เมษายน พ.ศ. 2559 | 8 (ครั้งที่ผ่านมา: 2006, 2009, 2011, 2012, 2013, 2014, 2015) |
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | เอเอฟซี (เจ้าภาพ) | สโมสรชนะเลิศ เจวันลีก 2016 | 3 ธันวาคม พ.ศ. 2559 | 1 |
เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน ค.ศ. 2016, สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี ใน โอะซะกะ และ สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ ใน โยะโกะฮะมะ คือได้รับการเสนอชื่อเป็นหนึ่งในสองสนามแข่งขันของทัวร์นาเมนต์.[10]
โอะซะกะ | โยะโกะฮะมะ | |
---|---|---|
สนามฟุตบอลซุอิตะซิตี | สนามกีฬานานาชาติโยะโกะฮะมะ | |
34°48′41.04″N 135°32′27.24″E | 35°30′35″N 139°36′20″E | |
ความจุ: 39,694 | ความจุ: 72,327 | |
ผู้ตัดสินที่ได้รับการแต่งตั้งอย่างเป็นทางการ:[11][12]
สมาพันธ์ | ผู้ตัดสิน | ผู้ช่วยผู้ตัดสิน | ผู้ช่วยผู้ตัดสินจากการใช้วิดีโอ |
---|---|---|---|
เอเอฟซี | Nawaf Shukralla | Yaser Khalil Abdulla Tulefat Ebrahim Mubarak Saleh |
Ravshan Irmatov |
ซีเอเอฟ | Janny Sikazwe | Jerson Emiliano dos Santos Berhe Tesfagiorghis |
Bakary Gassama |
คอนคาแคฟ | Roberto García | José Luis Camargo Alberto Morín |
Mark Geiger |
คอนเมบอล | Enrique Cáceres | Eduardo Cardozo Juan Zorrilla |
Andrés Cunha |
โอเอฟซี | Kader Zitouni | Philippe Revel | Nick Waldron |
ยูฟ่า | Viktor Kassai | György Ring Vencel Toth |
Damir Skomina |
วิดีโอจากผู้ช่วยผู้ตัดสินจะมีการทดสอบระหว่างทัวร์นาเมนต์.[13]
เพลย์ออฟ | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
8 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ | ||||||||||||||
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | 2 | 11 ธันวาคม – โอะซะกะ | ||||||||||||
ออกแลนด์ ซิตี | 1 | มาเมโลดี ซันดาวน์ส | 0 | |||||||||||
14 ธันวาคม – โอะซะกะ | ||||||||||||||
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | 2 | |||||||||||||
อัตเลติโก นาซิอองนาล | 0 | |||||||||||||
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | 3 | |||||||||||||
18 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ | ||||||||||||||
เรอัลมาดริด (หลังต่อเวลาพิเศษ) | 4 | |||||||||||||
11 ธันวาคม – โอะซะกะ | ||||||||||||||
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | 2 | |||||||||||||
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | 1 | |||||||||||||
15 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ | ||||||||||||||
อาเมริกา | 2 | |||||||||||||
อาเมริกา | 0 | |||||||||||||
ชิงอันดับ 5 | ชิงอันดับ 3 | |||||||||||||
เรอัลมาดริด | 2 | |||||||||||||
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | 4 | อาเมริกา | 2 (3) | |||||||||||
มาเมโลดี ซันดาวน์ส | 1 | อัตเลติโก นาซิอองนาล (ลูกโทษ) | 2 (4) | |||||||||||
14 ธันวาคม – โอะซะกะ | 18 ธันวาคม – โยะโกะฮะมะ |
เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, JST (UTC+9).[14]
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | 2–1 | ออกแลนด์ ซิตี |
---|---|---|
อะคะซะกิ 67' คะนะซะกิ 88' |
รายงาน | คิม แด-วูก 50' |
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | 1–2 | อาเมริกา |
---|---|---|
คิม โบ-คย็อง 23' | รายงาน | โรเมโร 58', 74' |
มาเมโลดี ซันดาวน์ส | 0–2 | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส |
---|---|---|
รายงาน | เอ็นโดะ 63' คะนะซะกิ 88' |
ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | 4–1 | มาเมโลดี ซันดาวน์ส |
---|---|---|
คิม โบ-คย็อง 18' ลี จ็อง-โฮ 29' นัสซิเมนตู 41' (เข้าประตูตัวเอง) คิม ชิน-วูก 89' |
รายงาน | ตาอู 48' |
อัตเลติโก นาซิอองนาล | 0–3 | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส |
---|---|---|
รายงาน | โดะอิ 33' (ลูกโทษ) เอ็นโดะ 83' ซุซุกิ 85' |
อาเมริกา | 0–2 | เรอัลมาดริด |
---|---|---|
รายงาน | แบนเซมา 45+2' โรนัลโด 90+3' |
เรอัลมาดริด | 4–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | คาชิมะ แอนต์เลอส์ |
---|---|---|
แบนเซมา 9' โรนัลโด 60' (ลูกโทษ), 98', 104' |
รายงาน | ชิบะซะกิ 44', 52' |
อันดับ | ชื่อ | สโมสร | ประตู |
---|---|---|---|
1 | คริสเตียโน โรนัลโด | เรอัลมาดริด | 4 |
2 | ซิลวิโอ โรเมโร | อาเมริกา | 2 |
คิม โบ-คย็อง | ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | ||
ยะสุชิ เอ็นโดะ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
มุ คะนะซะกิ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
กะคุ ชิบะซะกิ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
การีม แบนเซมา | เรอัลมาดริด | ||
5 | มิชาเอล อาร์โรโย | อาเมริกา | 1 |
โอริเบ เปรัลตา | อาเมริกา | ||
อาเลฮันโดร กูเอร์รา | อัตเลติโก นาซิอองนาล | ||
คิม แด-วูก | ออกแลนด์ ซิตี | ||
คิม ชิน-วูก | ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | ||
ลี จ็อง-โฮ | ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ | ||
ชุเฮะอิ อะคะซะกิ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
โชะมะ โดะอิ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
ยุมะ ซุซุกิ | คะชิมะ แอนท์เลอร์ส | ||
เปอร์ซี ตาอู | มาเมโลดี ซันดาวน์ส |
Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เรอัลมาดริด (ยูฟ่า) | 2 | 2 | 0 | 0 | 6 | 2 | +4 | 6 | |
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส (เอเอฟซี) (H) | 4 | 3 | 0 | 1 | 9 | 5 | +4 | 9 | |
อัตเลตีโก นาซีอองนาล (คอนเมบอล) | 2 | 0 | 1 | 1 | 2 | 5 | −3 | 1 | |
4 | อาเมริกา (คอนคาแคฟ) | 3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 5 | −1 | 4 |
5 | ช็อนบุก ฮุนได มอเตอส์ (เอเอฟซี) | 2 | 1 | 0 | 1 | 5 | 3 | +2 | 3 |
6 | มาเมโลดี ซันดาวน์ส (ซีเอเอฟ) | 2 | 0 | 0 | 2 | 1 | 6 | −5 | 0 |
7 | ออกแลนด์ ซิตี (โอเอฟซี) | 1 | 0 | 0 | 1 | 1 | 2 | −1 | 0 |
อาดิดาส ลูกบอลทองคำ |
อาดิดาส ลูกบอลเงิน |
อาดิดาส ลูกบอลทองแดง |
---|---|---|
(เรอัลมาดริด) |
(เรอัลมาดริด) |
(คะชิมะ แอนท์เลอร์ส) |
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ | ||
คะชิมะ แอนท์เลอร์ส |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.