Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คาร์บอน (อังกฤษ: Carbon) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ C และเลขอะตอม 6 เป็นธาตุอโลหะที่มีอยู่มาก มีวาเลนซ์ 4 และมีหลายอัญรูป:
Graphite (left) and diamond (right), two allotropes of carbon | ||||||
คาร์บอน | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|
อัญรูป | graphite, diamond and more (see Allotropes of carbon) | |||||
รูปลักษณ์ | ใส (เพชร) & สีดำ (แกรไฟต์) | |||||
Standard atomic weight Ar°(C) | ||||||
| ||||||
คาร์บอนในตารางธาตุ | ||||||
| ||||||
หมู่ | group 14 (carbon group) | |||||
คาบ | คาบที่ 2 | |||||
บล็อก | บล็อก-p | |||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [He] 2s2 2p2 | |||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 4 | |||||
สมบัติทางกายภาพ | ||||||
วัฏภาค ณ STP | ของแข็ง | |||||
Sublimation point | 3915 K (3642 °C, 6588 °F) | |||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | amorphous:[2] 1.8–2.1 g/cm3 diamond: 3.515 g/cm3 graphite: 2.267 g/cm3 | |||||
Triple point | 4600 K, 10800[3][4] kPa | |||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 117 (แกรไฟต์) kJ/mol | |||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 6.155 (เพชร) 8.517 (แกรไฟต์) J/(mol·K) | |||||
สมบัติเชิงอะตอม | ||||||
เลขออกซิเดชัน | −4, −3, −2, −1, 0, +1,[5] +2, +3,[6] +4[7] (ออกไซด์เป็นกรดเล็กน้อย) | |||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 2.55 | |||||
พลังงานไอออไนเซชัน |
| |||||
รัศมีอะตอม | empirical: 77 pm | |||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 77(sp³), 73(sp²), 69(sp) pm | |||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 170 pm | |||||
เส้นสเปกตรัมของคาร์บอน | ||||||
สมบัติอื่น | ||||||
โครงสร้างผลึก | เพชร (เพชร,ใส) | |||||
การขยายตัวจากความร้อน | 0.8 (diamond)[8] µm/(m⋅K) (ณ 25 °C) | |||||
การนำความร้อน | 900-2300 (diamond) 119-165 (graphite) W/(m⋅K) | |||||
ความเป็นแม่เหล็ก | ไดอะแมกเนติก[9] | |||||
มอดุลัสของยัง | 1050 (เพชร)[8] GPa | |||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 478 (เพชร)[8] GPa | |||||
Bulk modulus | 442 (เพชร)[8] GPa | |||||
Speed of sound thin rod | 18350 (diamond) m/s (ณ 20 °C) | |||||
อัตราส่วนปัวซง | 0.1 (เพชร)[8] | |||||
Mohs hardness | 10 (เพชร) 1-2 (แกรไฟต์) | |||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-44-0 | |||||
ประวัติศาสตร์ | ||||||
การค้นพบ | ชาวอียิปต์ and ชาวสุมาเรียน[10] (3750 BC) | |||||
ได้รับการยอมรับว่าเป็นธาตุโดย | อองตวน ลาวัวซิเอ[11] (1789) | |||||
ไอโซโทปของคาร์บอน | ||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของคาร์บอน | ||||||
Lamp black ประกอบด้วยพื้นที่ที่เป็นแกรไฟต์ขนาดเล็ก ๆ ซึ่งพื้นที่เหล่านี้จะกระจายสุ่ม จึงมีโครงสร้างไอโซโทรปิก
Glassy carbon มีโครงสร้างไอโซโทรปิกและมีความแข็งพอ ๆ กับกระจก ซึ่งต่างจากแกรไฟต์ที่ชั้นแกรไฟต์ไม่ได้เรียงซ้อนกันเหมือนกระดาษเรียบ ๆ แต่เรียงเหมือนกับกระดาษที่ขยำแล้ว
คาร์บอนไฟเบอร์มีลักษณะคล้ายกับ glassy carbon ภายใต้การผลิตแบบพิเศษ (การยืดไฟเบอร์อินทรีย์และการทำเป็นคาร์บอน) ทำให้สามารถจัดระนาบคาร์บอนในทิศทางของไฟเบอร์ได้ ในทิศตั้งฉากกับแกนไฟเบอร์ ไม่มีการตั้งระนาบของคาร์บอน ทำให้ไฟเบอร์ที่ได้มีความแข็งแรงมากกว่าเหล็กกล้า
คาร์บอนปรากฏในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด และเป็นพื้นฐานของอินทรีย์เคมี นอกจากนี้ อโลหะนี้มีคุณสมบัติทางเคมีที่สามารถทำพันธะกับตัวเอง และธาตุอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก เกิดได้เป็นสารประกอบเกือบ 10 ล้านกว่าชนิด เมื่อรวมกับออกซิเจน จะเกิดเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตของพืช เมื่อรวมกับไฮโดรเจน จะเกิดเป็นสารประกอบต่าง ๆ ที่เรียกรวม ๆ ว่าไฮโดรคาร์บอน ซึ่งจำเป็นต่ออุตสาหกรรมในรูปแบบของเชื้อเพลิงฟอสซิล เมื่อรวมกับทั้งไฮโดรเจนและออกซิเจน สามารถจะเกิดเป็นสารประกอบได้หลายประเภท เช่น กรดไขมัน ซึ่งจำเป็นต่อชีวิต และเอสเทอร์ ซึ่งให้รสชาติแก่ผลไม้หลายชนิด ไอโซโทป คาร์บอน-14 ใช้ในการวัดอายุโดยใช้กัมมันตภาพรังสี
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.