Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โทลูอีน หรือที่รู้จักกันในชื่อ เมทิลเบนซีน หรือ ฟีนิลมีเทน เป็นของเหลวที่ไม่ละลายในน้ำ กลิ่นคล้ายสีทาบ้าน เป็นสารประกอบอะโรมาติกที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเป็นสารตั้งต้นและเป็นตัวทำละลาย เช่นเดียวกับตัวทำละลายอื่นๆ โทลูลีนเป็นสารระเหยที่มีคนสูดดมและเกิดอาการเสพติดได้[15][16]
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Toluene[1] | |||
Systematic IUPAC name
Methylbenzene | |||
ชื่ออื่น | |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol) |
|||
ตัวย่อ | PhMe MePh BnH Tol | ||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ดรักแบงก์ | |||
ECHA InfoCard | 100.003.297 | ||
IUPHAR/BPS |
|||
KEGG | |||
ผับเคม CID |
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
CompTox Dashboard (EPA) |
|||
InChI
| |||
SMILES
| |||
คุณสมบัติ | |||
C7H8 | |||
มวลโมเลกุล | 92.141 g·mol−1 | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของเหลวไม่มีสี[3] | ||
กลิ่น | หวาน ฉุน เหมือนเบนซีน[4] | ||
ความหนาแน่น | 0.8623 g/mL (25 °C)[2] | ||
จุดหลอมเหลว | −95.0 องศาเซลเซียส (−139.0 องศาฟาเรนไฮต์; 178.2 เคลวิน)[2] | ||
จุดเดือด | 110.60 องศาเซลเซียส (231.08 องศาฟาเรนไฮต์; 383.75 เคลวิน)[2] | ||
0.54 g/L (5 °C) 0.519 g/L (25 °C) 0.63 g/L (45 °C) 1.2 g/L (90 °C)[5] | |||
log P | 2.73[6] | ||
ความดันไอ | 2.8 kPa (20 °C)[4] | ||
Magnetic susceptibility (χ) |
−66.1·10−6 cm3/mol[7] | ||
การนำความร้อน | 0.1310 W/(m·K) (25 °C)[8] | ||
ดัชนีหักเหแสง (nD) |
1.4941 (25 °C)[2] | ||
ความหนืด | 0.560 mPa·s (25 °C)[9] | ||
โครงสร้าง | |||
Dipole moment |
0.375 D[10] | ||
อุณหเคมี[11] | |||
ความจุความร้อน (C)
|
157.3 J/(mol·K) | ||
Std enthalpy of formation (ΔfH⦵298) |
12.4 kJ/mol | ||
Std enthalpy of combustion (ΔcH⦵298) |
3.910 MJ/mol | ||
ความอันตราย | |||
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): | |||
อันตรายหลัก |
ไวไฟสูง | ||
GHS labelling: | |||
Pictograms |
|||
Signal word |
อันตราย | ||
Hazard statements |
H225, H304, H315, H336, H361d, H373 | ||
Precautionary statements |
P210, P240, P301+P310, P302+P352, P308+P313, P314, P403+P233 | ||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
จุดวาบไฟ | 4 องศาเซลเซียส (39 องศาฟาเรนไฮต์; 277 เคลวิน)[12] | ||
อุณหภูมิที่ ติดไฟได้เอง |
480[12] องศาเซลเซียส (896 องศาฟาเรนไฮต์; 753 เคลวิน) | ||
ขีดจำกัดการระเบิด | 1.1–7.1%[12] | ||
ค่าขีดจำกัดเกณฑ์ (TLV) |
50 mL/m3, 190 mg/m3 | ||
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |||
LC50 (median concentration) |
>26700 ppm (rat, 1 h) 400 ppm (mouse, 24 h)[13] | ||
LCLo (lowest published) |
55,000 ppm (rabbit, 40 min)[13] | ||
NIOSH (US health exposure limits): | |||
PEL (Permissible) |
TWA 200 ppm C 300 ppm 500 ppm (10-minute maximum peak)[4] | ||
REL (Recommended) |
TWA 100 ppm (375 mg/m3) ST 150 ppm (560 mg/m3)[4] | ||
IDLH (Immediate danger) |
500 ppm[4] | ||
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | SIRI.org | ||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
แอโรมาติกไฮโดรคาร์บอนที่เกี่ยวข้อง |
เบนซีน ไซลีน แนฟทาลีน | ||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง |
เมทิลไซโคเฮกเซน | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ปฏิกิริยาของโทลูอีนเป็นเช่นเดียวกับอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนทั่วไป คือการแทนที่ที่วงอะโรมาติก[17][18][19] หมู่เมทธิลทำให้โทลูอีนว่องไวต่อปฏิกิริยามากกว่าเบนซีนถึง 25 เท่า ในปฏิกิริยาแบบเดียวกัน เกิดปฏิกิริยา sulfonation ได้เป็น p-toluenesulfonic acid และ chlorination โดย Cl2เมื่อมี FeCl3 ได้เป็นไอโซเมอร์ชนิดพาราและออร์โธของ chlorotoluene เกิดปฏิกิริยาnitration ได้พาราและออร์โธ- nitrotoluene แต่ถ้าได้รับความร้อนจะกลายเป็นdinitrotoluene และสารที่ใช้ทำระเบิด trinitrotoluene (TNT).
หมู่เมทธิลของโทลูอีนทำปฏิกิริยากับสารอื่นได้หลายตัว เช่นเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับ potassium permanganate และกรดเจือจาง (เช่น sulfuric acid) หรือ potassium permanganate กับกรดซัลฟูริกเข้มข้น ทำให้เกิด กรดเบนโซอิกซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยาต่อกับ chromyl chloride จะได้ benzaldehyde (Étard reaction). เกิดปฏิกิริยา Halogenation ในสภาวะที่มีอนุมูลอิสระ ตัวอย่างเช่น N-bromosuccinimide (NBS) เมื่อให้ความร้อนกับโทลูอีนและมี AIBN ทำให้ได้ benzyl bromide โทลูอีนสามารถทำปฏิกิริยากับธาตุโบรมีน เมื่อมีแสงยูวี (จากแสงแดดโดยตรง) ได้ benzyl bromide โทลูอีนสามารถทำปฏิกิริยากับ HBr และ H2O2 เมื่อมีแสงสว่าง[20].
ไม่ควรสูดดมไอระเหยของโทลูอีนเพราะส่งผลต่อสุขภาพ ระดับต่ำถึงปานกลางทำให้เหนื่อย สับสน อ่อนเพลีย อาการคล้ายเมาเหล้า เสียความทรงจำ คลื่นเหียน เบื่ออาหาร สูญเสียการได้ยินและการมองเห็นสี อาการเหล่านี้จะหายไปเมื่อหยุดสัมผัส การหายใจเอาไอระเหยเข้าไปในระดับสูงในเวลาสั้น คลื่นเหียน ล้ม หนือหมดสติ อาจถึงตายได้[21][22]
โทลูอีนมีความเป็นพิษน้อยกว่าเบนซีน จึงถูกนำมาใช้แทนที่ในฐานะตัวทำละลายอะโรมาติกในการเตรียมสารเคมี ตัวอย่างเช่น เบนซีนเป็นสารก่อมะเร็ง แต่โทลูอีนมีฤทธิ์เป็นสารก่อมะเร็งน้อยกว่า[23]
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.