นักบุญเกรกอรี ผู้ให้ความกระจ่าง หรือ นักบุญเกรกอรี ผู้มอบความสว่าง (อังกฤษ: Gregory the Illuminator[1]; คลาสสิกอาร์มีเนีย: Գրիգոր Լուսաւորիչ, รีฟอร์ม: Գրիգոր Լուսավորիչ, Grigor Lusavorich;[lower-alpha 1] ประมาณ257  ประมาณ331) เป็นนักบุญองค์อุปถัมภ์และปฐมอัครบิดรของคริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย ท่านได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำศาสนาผู้เปลี่ยนประเทศอาร์มีเนียจากลัทธิเพแกนมาเป็นศาสนาคริสต์ในปี ค.ศ. 301

ข้อมูลเบื้องต้น เกรกอรี ผู้ให้ความกระจ่าง, คาทอลิโกส์แห่งชาวอาร์มีเนียทั้งปวง (อัครบิดรแห่งอาร์มีเนีย) ...
เกรกอรี ผู้ให้ความกระจ่าง
Thumb
ภาพโมเสคที่โบสถ์พามมาคาริสโตส อิสตันบูล
คาทอลิโกส์แห่งชาวอาร์มีเนียทั้งปวง
(อัครบิดรแห่งอาร์มีเนีย)
เกิดc. 257
ราชอาณาจักรอาร์มีเนีย
เสียชีวิตc. 331 (อายุ 7374)
ราชอาณาจักรอาร์มีเนีย
นับถือ ในคริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย
คริสตจักรออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์
คริสตจักรคาทอลิก
คริสตจักรคาทอลิกอาร์มีเนีย
คริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์
แองกลิคันคอมมูเนียน
วันฉลอง20 กุมภาพันธ์ (Nardò, อิตาลี)
23 มีนาคม (อังกลิคัน)
วันเสาร์ก่อนวันอาทิตย์ที่สี่หลังวันเพนทีคอส (อัครทูตอาร์มีเนีย)
30 กันยายน (อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์; คาทอลิก)
1 ตุลาคม (คาทอลิก)
องค์อุปถัมภ์ประเทศอาร์มีเนีย
ปิด

เกรกอรีเป็นบุตร[2] ของขุนนางอาร์มีเนียชาวปาร์เธีย[3] บิดาคือ อานัค ชาวปาร์เธีย และมารดาคือโอโคเฮ (Okohe) เชื่อกันว่าอานัค บิดาของเกรกอรี สืบเชื้อสายมาจากเจ้าชายในจักรวรรดิอาร์ซาจิด (Arsacid) แห่งอาร์มีเนีย[4] หรือมาจากสภาซูเรน หนึ่งในแคว้นปาร์เธียทั้งเจ็ด[5][6][7]

ในปี 301 เกรเกอรีประกอบพิธีบัปติศมาให้แก่พระเจ้าทีรีดาเตสที่ 3 และราชวงศ์ พระเจ้าทีรีดาเตสที่ 3 ทรงมีพระราชกฤษฎีกาให้เกรกอรีมีสิทธิ์เต็มในการเปลี่ยนศาสนาดินแดนอาร์มีเนียทั้งประเทศเป็นศาสนาคริสต์ และในปีเดียวกันนั้นเป็นที่ถือกันว่าประเทศอาร์มีเนียได้รับการเปลี่ยนเข้าสู่ศาสนาคริสต์[8]

ดูเพิ่ม

  • อาสนวิหารเอจมิยซิน
  • ศาสนาคริสต์อีสเติร์นตะวันออก
  • เกรกอริดส์
  • วาร์ดาเพท นักบวชสายเทศนาของอาร์มีเนีย

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Wikiwand in your browser!

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.

Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.

Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.