Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2501 (ค.ศ. 1958) เป็นฤดูของพายุหมุนเขตร้อนแต่ไม่มีการกำหนดช่วงของขอบเขตของพายุ แต่ส่วนใหญ่จะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคมและพฤศจิกายน วันเหล่านี้ในแต่ละปีเมื่อพายุไซโคลนเขตร้อนมักจะก่อตัวทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2501 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 7 มกราคม พ.ศ. 2501 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 8 ธันวาคม พ.ศ. 1958 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | ไอดา |
• ลมแรงสูงสุด | 325 กม./ชม. (200 ไมล์/ชม.) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 877 hPa (มิลลิบาร์) |
สถิติฤดูกาล | |
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 24 |
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 23 |
พายุไต้ฝุ่น | 21 |
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น | 8 |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ความเสียหายทั้งหมด | ไม่ทราบ |
ขอบเขตของบทความนี้จะจำกัดอยู่ทางบริเวณตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตร และทางตะวันตกของเส้นแบ่งเขตวันสากล โดยพายุที่เกิดทางด้านตะวันออกของเส้นนี้และทางตอนเหนือของเส้นศูนย์สูตรจะถูกเรียกรวมๆว่า เฮอร์ริเคน ดูที่ ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2501
ความรุนแรงของพายุ |
---|
Tropical Depression (TD) |
Tropical Storm (TS) |
Severe Tropical Storm (STS) |
Typhoon (TY) |
Category 1 typhoon (TY) |
Category 2 typhoon (TY) |
Category 3 typhoon (TY) |
ซูเปอร์ไต้ฝุ่น Category 4 super typhoon (TY, STY) |
ซูเปอร์ไต้ฝุ่น Category 5 super typhoon (TY, STY) |
ชื่อพายุ | ระยะเวลา | ความรุนแรง | เส้นทางเดินพายุ | ผลกระทบ | อ้างอิง |
---|---|---|---|---|---|
ไต้ฝุ่นโอฟีเลีย (Ophelia) | 7 - 16 มกราคม | พายุไต้ฝุ่น 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) 940 hPa | [1][2][3] | ||
ไต้ฝุ่นฟิลลิส (Phyllis) | 25 พฤษภาคม - 2 มิถุนายน | พายุไต้ฝุ่น 295 กม./ชม. (185 ไมล์/ชม.) 940 hPa | |||
ไต้ฝุ่นริตา (Rita) | 9 - 13 มิถุนายน | พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) 985 hPa | |||
ไต้ฝุ่นซูซาน (Susan) | 13 - 17 มิถุนายน | พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) 985 hPa | |||
ไต้ฝุ่นเทส (Tess) | 29 มิถุนายน - 6 กรกฎาคม | พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) 1,000 hPa | |||
ไต้ฝุ่นไวโอลา (Viola) | 8 - 15 กรกฎาคม | พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) 965 hPa | |||
ไต้ฝุ่นวินนี (Winnie) | 12 - 17 กรกฎาคม | พายุไต้ฝุ่น 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) 925 hPa | [4][5] | ||
พายุโซนร้อนเบตตี้ (Betty) | 13 - 16 กรกฎาคม | พายุโซนร้อน 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) 985 hPa | |||
ไต้ฝุ่นอลิซ (Alice) | 14 - 24 กรกฎาคม | พายุโซนร้อน 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) 925 hPa | |||
พายุโซนร้อนโครา (Cora) | 20 - 23 กรกฎาคม | พายุโซนร้อน 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) 995 hPa | |||
ไต้ฝุ่นโดริส (Doris) | 22 - 30 กรกฎาคม | พายุโซนร้อน 240 กม./ชม. (150 ไมล์/ชม.) 935 hPa | |||
ไต้ฝุ่นเอลซี (Elsie) | 5 - 9 สิงหาคม | พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) 965 hPa | |||
ไต้ฝุ่นฟลอสซี (Flossie) | 21 - 26 สิงหาคม | พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) 970 hPa | |||
ไต้ฝุ่นเกรซ (Grace) | 29 สิงหาคม - 5 กันยายน | พายุไต้ฝุ่น 305 กม./ชม. (190 ไมล์/ชม.) 905 hPa | |||
ไต้ฝุ่นเฮเลน (Helen) | 9 - 20 กันยายน | พายุไต้ฝุ่น 280 กม./ชม. (175 ไมล์/ชม.) 920 hPa | |||
ไต้ฝุ่นไอดา (Ida) | 20 - 27 กันยายน | พายุไต้ฝุ่น 325 กม./ชม. (200 ไมล์/ชม.) 877 hPa | [6][7][8] | ||
ไต้ฝุ่นจูน (June) | 20 - 22 กันยายน | พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) 990 hPa | |||
ดีเปรสชันเขตร้อน 24W | 20 - 22 กันยายน | ดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) | |||
ไต้ฝุ่นเคที (Kathy) | 21 - 27 ตุลาคม | พายุไต้ฝุ่น 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) 975 hPa | |||
ไต้ฝุ่นโลร์นา (Lorna) | 23 ตุลาคม - 3 พฤศจิกายน | พายุไต้ฝุ่น 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) 940 hPa | |||
ไต้ฝุ่นมารี (Marie) | 26 ตุลาคม - 3 พฤศจิกายน | พายุไต้ฝุ่น 220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) 940 hPa | |||
ไต้ฝุ่นแนนซี (Nancy) | 21 - 26 พฤศจิกายน | พายุไต้ฝุ่น 260 กม./ชม. (160 ไมล์/ชม.) 920 hPa | |||
พายุโซนร้อนปาเมลา (Pamela) | 30 พฤศจิกายน - 4 ธันวาคม | พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) 1,000 hPa | |||
ไต้ฝุ่นโอลกา (Olga) | 2 - 8 ธันวาคม | พายุไต้ฝุ่น 230 กม./ชม. (145 ไมล์/ชม.) 950 hPa | |||
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.