Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปฏิบัติการควีน เป็นปฏิบัติการของอังกฤษ-อเมริกันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันตกที่แนวซีคฟรีทของเยอรมัน
ปฏิบัติการควีน | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
เขื่อนระดับสูงที่แม่น้ำ Rhur - หนึ่งในเป้าหมายหลักของปฏิบัติการควีน | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
สหรัฐ สหราชอาณาจักร | เยอรมนี | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
โอมาร์ แบรดลีย์ Courtney Hodges William Hood Simpson |
แกร์ท ฟ็อน รุนท์ชเต็ท Gustav-Adolf von Zangen Erich Brandenberger | ||||||
กำลัง | |||||||
1st Army 9th Army |
7th Army 15th Army | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
38,500 casualties[a] 340 tanks lost[2][3] | casualties equal to the Allies[1] |
ปฏิบัติการครั้งนี้ได้มุ่งเป้าหมายไปที่แม่น้ำ Ruhr ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับการผลักดันข้ามแม่น้ำไรน์เข้าสู่เยอรมนีในเวลาต่อมา มันได้ถูกดำเนินการโดยกองทัพสหรัฐที่หนึ่งและเก้า
การรุกได้เริ่มต้นขึ้น เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ด้วยหนึ่งในการทิ้งระเบิดทางยุทธศาสตร์อย่างหนักมากของฝ่ายสัมพันธมิตร อย่างไรก็ตาม, การรุกของฝ่ายสัมพันธมิตรได้ล่าช้าอย่างกระทันหัน พบการต่อต้านอย่างหนักของเยอรมัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในป่าเฮือร์ทเกิน ซึ่งแรงผลักดันหลักของการรุกได้บรรลุ ในกลางเดือนธันวาคม ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เดินทางมาถึงแม่น้ำรูร์ในที่สุดและพยายามที่จะเข้ายึดเขื่อนที่สำคัญ เมื่อเยอรมันได้เปิดฉากการรุกของพวกเขาเองที่มีชื่อว่า เฝ้าดูไรน์ ยุทธการตอกลิ่มที่ตามมาได้นำไปสู่การยุติทันทีของความพยายามการรุกเข้าสู่เยอรมนีของฝ่ายสัมพันธมิตรจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 1945
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.