Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พริกกับเกลือ เป็นละครโทรทัศน์ไทยแนวโรแมนติก, คอมเมดี้และดราม่า ที่สร้างจากบทประพันธ์ของชูวงศ์ ฉายะจินดา[1] สร้างออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์มาแล้ว 3 ครั้งด้วยกัน
พริกกับเกลือ | |
---|---|
สร้างโดย | บริษัท ชาโดว์ เอนเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด ออกอากาศช่อง 3 เอชดี (พ.ศ. 2543) บริษัท มาสเคอเรด จำกัด ออกอากาศช่อง 7 เอชดี (พ.ศ. 2555) บริษัท มีเดียซีน จำกัด ออกอากาศช่อง 7 เอชดี (พ.ศ. 2564) |
เขียนโดย | บทประพันธ์ : ชูวงศ์ ฉายะจินดา บทโทรทัศน์ : นันทนา วีระชน (พ.ศ. 2543) บทประพันธ์ : ชูวงศ์ ฉายะจินดา บทโทรทัศน์ : ปิยะมาศ มะชะรา (พ.ศ. 2555) บทประพันธ์ : ชูวงศ์ ฉายะจินดา บทโทรทัศน์ : วจี (พ.ศ. 2564) |
กำกับโดย | นพดล มงคลพันธ์ (พ.ศ. 2543) มารุต สาโรวาท (พ.ศ. 2555) พุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร (พ.ศ. 2564) |
แสดงนำ | ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา ศิรประภา สุขดำรงค์ (พ.ศ. 2543) ออกอากาศช่อง 3 (ครั้งที่ 1) วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ เขมนิจ จามิกรณ์ กรรณาภรณ์ พวงทอง อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา (พ.ศ. 2555) ออกอากาศช่อง 7 (ครั้งที่ 2) ธันวา สุริยจักร ซอนญ่า สิงหะ พัชร์สิตา อธิอนันตศักดิ์ กรรญกฤต อรรควงษ์ (พ.ศ. 2564) ออกอากาศช่อง 7 เอชดี (ครั้งที่ 3) |
ผู้ประพันธ์ดนตรีแก่นเรื่อง | เพลงคนไร้ค่า - ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง (พ.ศ. 2543) เพลงพริกกับเกลือ - เขมนิจ จามิกรณ์ (พ.ศ. 2555) เพลงของมันต้องมี - ธันวา สุริยจักร ซอนญ่า สิงหะ (พ.ศ. 2564) |
ดนตรีแก่นเรื่องปิด | เพลง เจ็บแต่เธอไม่รู้ - ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง (พ.ศ. 2543) เพลงใจกลางความรู้สึกดีดี - เอ๊ะ จิรากร (พ.ศ. 2555) เพลงจากนี้ไปจนนิรันดร์ - เอ๊ะ จิรากร (พ.ศ. 2564) เพลงจากนี้ไปจนนิรันดร์ - ธันวา สุริยจักร (พ.ศ. 2564) |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ประเทศไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ประเทศไทย |
จำนวนตอน | พ.ศ. 2564 : 19 ตอน |
การผลิต | |
ผู้อำนวยการสร้าง | คณะกรรมการพิจารณาการผลิตละครโทรทัศน์ |
ความยาวตอน | พ.ศ. 2543 : 60 นาที พ.ศ. 2555 : 120 นาที พ.ศ. 2564 : 120 นาที |
ออกอากาศ | |
เครือข่าย | ออกอากาศช่อง 3 (พ.ศ. 2543) (ครั้งที่ 1) ออกอากาศอากาศช่อง 7 (พ.ศ. 2555) (ครั้งที่ 2) ช่อง 7 เอชดี (พ.ศ. 2564) ครั้งที่ 3 |
ออกอากาศ | พ.ศ. 2543 (ครั้งที่ 1) 4 สิงหาคม พ.ศ. 2555 (ครั้งที่ 2) 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 (ครั้งที่ 3) – พ.ศ. 2543 (ครั้งที่ 1) 16 กันยายน พ.ศ. 2555 (ครั้งที่ 2) 19 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (ครั้งที่ 3) |
พริกกับเกลือ สร้างเป็นละครโทรทัศน์ครั้งที่ 1 เมื่อในปี พ.ศ. 2543 ผลิตโดยบริษัท ชาโดว์ เอนเตอร์เทนเม้นต์ จำกัดและบทโทรทัศน์โดย นันทนา วีระชน กำกับการแสดงโดย นพดล มงคลพันธ์ นำแสดงโดย ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง, กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา, ศิรประภา สุขดำรงค์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 ออกอากาศทุกวันเสาร์ อาทิตย์ เวลา 19.00 น. (ช่วงละครก่อนข่าว)
ครั้งที่ 2 สร้างเป็นละครโทรทัศน์เมื่อในปี พ.ศ. 2555[2]บริษัท มาสเคอเรด จำกัดได้นำละคร พริกกับเกลือ มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้งจากมุมมองใหม่ มีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมเนื้อเรื่องและตัวละครให้เข้ากับยุคสมัยแต่ยังยึดเค้าโครงเรื่องเดิมไว้เป็นหลัก ในละคร พริกกับเกลือ [3]ละครโทรทัศน์ฉบับปี พ.ศ. 2555 เขียนบทโทรทัศน์โดยปิยะมาศ มะชะรากำกับการแสดงโดย มารุต สาโรวาท นำแสดงโดย วีรภาพ สุภาพไพบูลย์, เขมนิจ จามิกรณ์, อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา, กรรณาภรณ์ พวงทอง, ออกอากาศทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ เวลา 20.25 น. เริ่มวันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม 2555 - วันอาทิตย์ที่ 16 กันยายน 2555 ต่อจากละครเรื่องปิ่นอนงค์ออกอากาศทางช่อง 7 เอชดี[4]
ครั้งที่ 3 สร้างเป็นละครโทรทัศน์ในปี พ.ศ. 2564[5]บริษัท มีเดียซีน จำกัดได้นำละคร พริกกับเกลือ มาสร้างเป็นละครโทรทัศน์อีกครั้งจากมุมมองใหม่ มีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมเนื้อเรื่องและสร้างสีสันตัวละครให้เข้ากับยุคสมัยปัจจุบันแต่ยังยึดเค้าโครงเรื่องเดิมไว้เป็นหลัก พริกกับเกลือ ละครโทรทัศน์ฉบับในปี พ.ศ. 2564 เขียนบทโทรทัศน์โดยวจี กำกับการแสดงโดยพุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนครนำแสดงโดย ธันวา สุริยจักร, ซอนญ่า สิงหะ, พัชร์สิตา อธิอนันตศักดิ์, กรรญกฤต อรรควงษ์, ออกอากาศทุกวันศุกร์ เสาร์ อาทิตย์ เวลา 20.30 น.[6]เริ่มวันอาทิตย์ที่ 7 พฤศจิกายน 2564 - วันอาทิตย์ที่19 ธันวาคม 2564 ต่อจากละครล่ารักสุดขอบฟ้ารีรันออกอากาศทางช่อง 7 เอชดี[7][8]
แนวคิดการนำกลับมาในการสร้างเป็นละครโทรทัศน์เรื่องนี้ทางทีมงานบริษัท มีเดียซีน จำกัดและชยานนท์ อุลิศ[9]ผู้จัดงานละครเรื่องนี้ได้นำละคร พริกกับเกลือ[10]ละครรีเมคยอดนิยมและได้มีแพลนในการคัดเลือกนักแสดงนำแสดงโดย ธันวา สุริยจักร ในบทบาท ศยาม / ดิ่ง [11]ในเรื่องรับบทเป็นนายช่างมาดกวน และ ซอนญ่า สิงหะ ในบทบาท จิตรวรรณ / จี๊ด[12]รับบทเป็นลูกคุณหนูสุดเฟี๊ยส์ และนักแสดงอักคับคั่ง[13]
สถานที่ถ่ายทำละครเรื่องนี้ ได้แก่ ห้างสรรพสินค้า, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, สะพานพระราม 8, ประเทศเยอรมนี และ กรุงเทพมหานคร
เมื่อสาวแสบเปรี้ยวจี๊ด ที่มีความมั่นใจในตัวเองสูง ไม่เคยยอมอ่อนข้อให้ใคร ได้มาเจอกับหนุ่มหล่อที่ผิดหวังในความรักจนกลายเป็นคนเงียบขรึม จากคู่กัดที่เจอหน้ากันเมื่อไรเป็นต้องมีการปะทะคารม จู่ ๆ ความรู้สึกหวั่นไหวอบอุ่นก็แทรกซึมเข้ามาอยู่ในหัวใจของคนทั้งคู่แบบไม่ทันตั้งตัว ด้วยความดีและเป็นสุภาพบุรุษของชายหนุ่ม ก็ปราบพยศหญิงสาวที่มีความแสบเหมือนพริกได้มีการผสมผสานอย่างลงตัวจึงกลายเป็นรักแท้[14]
ปี | พ.ศ. 2543 | พ.ศ. 2555 | พ.ศ. 2564 |
---|---|---|---|
สถานีออกอากาศ | ช่อง 3 | ช่อง 7 | |
ผู้ผลิต | บริษัท ชาโดว์ เอนเตอร์เทนเม้นต์ จำกัด | บริษัท มาสเคอเรด จำกัด | บริษัท มีเดียซีน จำกัด |
บทประพันธ์ | ชูวงศ์ ฉายะจินดา | ||
บทโทรทัศน์ | นันทนา วีระชน | ปิยะมาศ มะชะรา | วจี |
ผู้กำกับการแสดง | นพดล มงคลพันธ์ | มารุต สาโรวาท | พุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร |
ตัวละคร | นักแสดงหลัก | ||
ศยาม ไกรก้องเกียรติคุณ (ดิ่ง) | ทัช ณ ตะกั่วทุ่ง | วีรภาพ สุภาพไพบูลย์ | ธันวา สุริยจักร |
จิตรวรรณ หักดิบ (จี๊ด) (2543) (2555) จิตรวรรณ วชิรพันธ์ (จี๊ด) (2564) | กุลสตรี ศิริพงษ์ปรีดา | เขมนิจ จามิกรณ์ | ซอนญ่า สิงหะ |
ศุวิมล ไกรก้องเกียรติคุณ (ศุ) | ศิรประภา สุขดำรงค์ | กรรณาภรณ์ พวงทอง | พัชร์สิตา อธิอนันตศักดิ์ |
ยอดชาย ดีเสมอ (ยอด) | จตุพล จันทร์แจ่ม | อนุวัฒน์ ชูเชิดรัตนา | กรรญกฤต อรรควงษ์ |
ตัวละคร | นักแสดงสมทบ | ||
เงาะ (2555) อลิส (2564) | อธิชนัน ศรีเสวก | ริญญารัตน์ วัชรโรจน์สิริ | |
ทันวิทย์ อนันต์โชคชัย / ทันวิทย์ ธนกิจวิเศษ (ทัน) | พงศวัต ขวัญเมือง | ปรมิณ ศิระวนาดร | จักรภัทร อังศุธนมาลี |
โพ | อาชัญ ชัยสุวรรณ | ณัฐชนน ภูวนนท์ | |
ด้วง | ดนัย ตันธนะศิริวงศ์ | กณิณ ปัทมนันถ์ | |
สาลี่ | ณัฐชยกานต์ ปากหวาน | ||
มารศรี (2543) (2555) พิตตาภรณ์ วิรัตนโท (แพตตี้) (2564) | กมลา ณ กำภู ณ อยุธยา | พิชญ์นาฏ สาขากร | พีรญา มะลิซ้อน |
เทวัญ อนันต์โชคชัย / เทวัญ ธนกิจวิเศษ | จีระศักดิ์ แสงโชติ | ปฏิญาณ วิโรจน์แสงประทีป | กรเศก โคนินทร์ |
ใจดี | แพร เอมเมอรี่ | นิภาภรณ์ ฐิติธนการ | |
คุณเจตนา หักดิบ (2543) (2555) คุณเจตนา วชิรพันธ์ (2564) | สุเทพ ประยูรพิทักษ์ | ทูน หิรัญทรัพย์ | สันติสุข พรหมศิริ |
คุณหญิงวันดี หักดิบ (2543) (2555) คุณหญิงวันดี วชิรพันธ์ (2564) | ปิยะมาศ โมนยะกุล | กชกร นิมากรณ์ | มัณฑนา หิมะทองคำ |
คุณเศก ไกรก้องเกียรติคุณ | ครรชิต ขวัญประชา | ไพโรจน์ สังวริบุตร | ภูธฤทธิ์ พรหมบันดาล |
ลุงแปลง | สายัณห์ จันทรวิบูลย์ | การันต์ กิตติราช | วีระชัย หัตถโกวิท |
คุณรัตนา | วรรณิศา ศรีวิเชียร | สินิทรา บุญยศักดิ์ | ณุศรา ประวันณา |
เจ๊ยุพา | ตรีนุช ทิมเจริญ | วิมลพันธ์ ชาลีจังหาญ | |
หวิน | ประไพ สิโนทก | ||
ป้าเพ็ญ | ปริศนา รัตนคช | วาสนา สิทธิเวช | |
แช่ม (2555) สันติ (2564) | ณรงค์ศักดิ์ อังกาบ | ||
สำรวม (2543) อ้อยใจ (2555) (2564) | แวว มกจ๊ก | พัชรมณ พิทักษ์โลกพิตร | พรสวรรค์ สุขจิตร |
แต๋ว | นิชาภา ปกรณ์กิจวัฒนา | ||
ป๊อด | ศตวุต ชาญเลขา | ||
ตัวละคร | นักแสดงรับเชิญ | ||
พ่อบุญธรรมของเทวัญ | เวนย์ ฟอลโคเนอร์ | ||
แม่บุญธรรมของเทวัญ | กรองทอง รัชตะวรรณ | ||
ชานนท์ | เคน ฮาเซกาวา | ||
หมอเวทย์ | มารุต สาโรวาท | สุเทพ ประยูรพิทักษ์ | |
แม่มารศรี (2543) (2555) พิจิตรา วิรัตนโท (แม่แพตตี้) (2564) | เปียทิพย์ คุ้มวงศ์ | วัลวิภา โยคะกุล | |
เบญจมาศ ไกรก้องเกียรติคุณ | วจี อรรถไกลวัลที | ชนิตา สุภาพันธ์ | |
เมียชาวเขา | รพีพร พ่วงเพ็ชร | ||
เจ้าหนี้นอกระบบ | ทศพล ศิริวิวัฒน์ | ||
น้าชาวบ้านบนดอย | พุฒิพงศ์ พรหมสาขา ณ สกลนคร | ||
เทวัญ (ตอนเด็ก) | ด.ช.สิรภพ ปฐมกาลบุตร | ||
ศุวิมล (ตอนเด็ก) | ด.ญ.ฟลอร่า มัสซาโร | ||
ตัวละคร | นักแสดงตัวประกอบ | ||
เทพ อนันต์โชคชัย | กิตติพล เกศมณี | ||
สารภี อนันต์โชคชัย | |||
นางพยาบาล | สกุลตลา ปีกจตุรัส | ||
เสี่ยป้อ | |||
ผู้ช่วยพยาบาล | |||
ตำรวจ | สิริเวศ เจริญชนม์ | ||
แขกในงานเลี้ยงโรงแรม | มณียานันท์ ลิ้มสวัสดิ์ | ||
คุณหมอ | โอภาส สุทธิเพียร | ||
หมอบนดอย | กฤตภาส จันทนะโพธิ | ||
เฌอแตม (เลขาใหม่ของเทวัญ) |
ละครออกฉายตอนแรกด้วยเรตติ้ง 3.2[15]เมื่อออกฉายตอนที่ 19 (ตอนจบ) ทำเรตติ้งได้ 4.6[16]โดยทำเรตติ้งได้สูงสุดในวันนั้นในช่วงไพรม์ไทม์ เรตติ้งเฉลี่ย ทุกตอน 3.96[17]
ตารางด้านล่างเป็นเรตติ้งเฉลี่ยทั่วประเทศของทุกตอน[18]
ตอนที่ | ออกอากาศ | เรตติ้งทั่วประเทศ (AGB Nielsen) | อ้างอิง |
---|---|---|---|
1 | 7/11/64 | 3.2 | [19] |
2 | 12/11/64 | 4.0 | |
3 | 13/11/64 | 3.4 | |
4 | 14/11/64 | 3.5 | [20] |
5 | 19/11/64 | 3.6 | |
6 | 20/11/64 | 4.0 | |
7 | 21/11/64 | 4.2 | [21] |
8 | 26/11/64 | 4.4 | |
9 | 27/11/64 | 4.4 | |
10 | 28/11/64 | 4.0 | [22] |
11 | 3/12/64 | 4.5 | |
12 | 4/12/64 | 3.9 | |
13 | 5/12/64 | 3.6 | [23] |
14 | 10/12/64 | 4.3 | |
15 | 11/12/64 | 3.4 | |
16 | 12/12/64 | 3.9 | [24] |
17 | 17/12/64 | 4.3 | [25] |
18 | 18/12/64 | 3.6 | |
19 | 19/12/64 | 4.6 | [26] |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.