ฟุตบอลทีมชาติโกตดิวัวร์ (ฝรั่งเศส: équipe de Côte d'Ivoire de football) หรือ ฟุตบอลทีมชาติไอวอรีโคสต์ (อังกฤษ: Ivory Coast national football team) เป็นทีมฟุตบอลจากประเทศโกตดิวัวร์ ประสบความสำเร็จในระดับทวีปหลายครั้ง เช่นการได้อันดับ 4 ในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ ในปี ค.ศ. 1992, ชนะเลิศแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 3 สมัย ในปี ค.ศ. 1992, 2015 และ 2023 และได้เข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายสามครั้งในฟุตบอลโลก 2006 ,ฟุตบอลโลก 2010 และฟุตบอลโลก 2014
ฉายา | Les Éléphants (ช้าง) ช้างดำ (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สหพันธ์ฟุตบอลไอวอรี | ||
สมาพันธ์ย่อย | WAFU (แอฟริกาตะวันตก) | ||
สมาพันธ์ | ซีเอเอฟ (แอฟริกา) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | ปาทริซ โบแมลล์ | ||
กัปตัน | แซร์ฌ โอรีเย | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | ดีดีเย โซโกรา (123) | ||
ทำประตูสูงสุด | ดีดีเย ดรอกบา (65) | ||
สนามเหย้า | Stade Félix Houphouët-Boigny Stade National | ||
รหัสฟีฟ่า | CIV | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 37 1 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 12 (กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2013, เมษายน–พฤษภาคม ค.ศ. 2013) | ||
อันดับต่ำสุด | 75 (มีนาคม–พฤษภาคม ค.ศ. 2004) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
โกตดิวัวร์ 3–2 ดาโฮมีย์ (ประเทศมาดากัสการ์, 13 เมษายน ค.ศ. 1960) | |||
ชนะสูงสุด | |||
โกตดิวัวร์ 11–0 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง (อาบีจาน, ประเทศโกตดิวัวร์; 27 ธันวาคม ค.ศ. 1961) | |||
แพ้สูงสุด | |||
เนเธอร์แลนด์ 5–0 โกตดิวัวร์ (รอตเทอร์ดาม ประเทศเนเธอร์แลนด์; 4 มิถุนายน ค.ศ. 2017) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 2006) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบแบ่งกลุ่ม (2006, 2010, 2014) | ||
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ | |||
เข้าร่วม | 24 (ครั้งแรกใน 1965) | ||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1992, 2015, 2023) | ||
แอฟริกันเนชันส์แชมเปียนชิพ | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 2009) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 3, 2016 | ||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | |||
เข้าร่วม | 1 (ครั้งแรกใน 1992) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่ 4, 1992 |
ผู้เล่น
ผู้เล่นทีมชาติชุดปัจจุบัน
รายชื่อผู้เล่นในการแข่งขันนัดกระชับมิตรกับทีมชาติฝรั่งเศส และ ทีมชาติอังกฤษ เมื่อวันที่ 25 และ 29 มีนาคม ค.ศ. 2022[2][3]
สถิติการลงสนามและการยิงประตูนับถึงวันที่ 29 มีนาคม ค.ศ. 2022 หลังแข่งกับทีมชาติอังกฤษ[4]
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
23 | GK | บาดรา อาลี ซ็องกาเร | 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 | 23 | 0 | เจดีอาร์ สตาร์ส |
1 | GK | อับดุล การีม ซีเซ | 20 ตุลาคม ค.ศ. 1985 | 6 | 0 | มิโมซาส |
16 | GK | โมฮาเหม็ด โคเน | 7 มีนาคม ค.ศ. 2002 | 0 | 0 | เลอ อาฟวร์ |
17 | DF | แซร์ฌ โอรีเย | 24 ธันวาคม ค.ศ. 1992 | 79 | 3 | บิยาร์เรอัล |
21 | DF | เอริก บายี | 12 เมษายน ค.ศ. 1994 | 46 | 2 | แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด |
27 | DF | ซิมง เดลี | 27 ตุลาคม ค.ศ. 1991 | 23 | 0 | อาดานา เดมีร์สปอร์ |
3 | DF | กีส์แลง โกน็อง | 27 ธันวาคม ค.ศ. 1995 | 19 | 0 | แร็งส์ |
7 | DF | โอดิลง กอสซูนู | 4 มกราคม ค.ศ. 2001 | 14 | 0 | ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน |
6 | DF | วิลลี โบลี | 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1991 | 12 | 1 | วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ |
5 | DF | เอมมานูแอล อักบาดู | 7 มิถุนายน ค.ศ. 1997 | 2 | 0 | ยูเพน |
2 | DF | อิสมาแอล ดียัลโล | 29 มกราคม ค.ศ. 1997 | 0 | 0 | อาฌักซีโย |
15 | MF | แม็กซ์-อแล็ง กราแดล | 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 | 96 | 16 | ซิวาสสปอร์ |
8 | MF | ฟร็องก์ เกเซีย | 19 ธันวาคม ค.ศ. 1996 | 58 | 6 | เอซี มิลาน |
4 | MF | ฌ็อง มิกาแอล เซรี | 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 | 40 | 4 | ฟูลัม |
11 | MF | แม็กซ์แวล กอร์เนต์ | 27 กันยายน ค.ศ. 1996 | 29 | 6 | เบิร์นลีย์ |
18 | MF | อิบราอิม ซ็องกาเร | 2 ธันวาคม ค.ศ. 1997 | 22 | 4 | เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน |
MF | เฌเรมี โบกา | 3 มกราคม ค.ศ. 1997 | 8 | 1 | อาตาลันตา | |
14 | MF | ฮัสซัน กามารา | 5 มีนาคม ค.ศ. 1994 | 6 | 0 | วอตฟอร์ด |
12 | MF | ฟุสเซนี คูลิบาลี | 12 ธันวาคม ค.ศ. 1992 | 3 | 0 | แอสแปแรนซ์ ตูนิส |
20 | MF | ปอล อาคูโอคู | 20 ธันวาคม ค.ศ. 1997 | 2 | 0 | เรอัลเบติส |
19 | FW | นีกอลา เปเป | 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1995 | 34 | 9 | อาร์เซนอล |
9 | FW | วีลฟรีด ซาอา | 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 | 26 | 5 | คริสตัล พาเลซ |
22 | FW | เซบัสเตียง อาแลร์ | 22 มิถุนายน ค.ศ. 1994 | 14 | 4 | อายักซ์ |
28 | FW | โยอัน โบลี | 17 กันยายน ค.ศ. 1993 | 12 | 0 | อัล-รายยัน |
10 | FW | ฌ็อง เอวราร์ กูอาซี | 25 กันยายน ค.ศ. 1994 | 7 | 1 | ทรับซอนสปอร์ |
25 | FW | การีม โกนาเต | 21 มีนาคม ค.ศ. 2004 | 1 | 0 | มิโมซาส |
สถิติ
- ณ วันที่ 26 มกราคม 2022[5][6]
- ผู้เล่นในที่มีชื่อแสดงด้วยอักษร ตัวหนา คือผู้เล่นที่ยังคงเล่นให้กับทีมชาติ
ลงสนามให้ทีมชาติมากที่สุด
อันดับ | ผู้เล่น | จำนวนนัดที่ลงสนาม | ประตู | ช่วงปี |
---|---|---|---|---|
1. | ดีดีเย โซโกรา | 123 | 1 | 2000–2014 |
2. | โกโล ตูเร | 120 | 7 | 2000–2015 |
3. | ดีดีเย ดร็อกบา | 105 | 65 | 2002–2014 |
4. | ยาย่า ตูเร | 101 | 19 | 2004–2015 |
5. | เซียกา ตีเอเน | 100 | 2 | 2000–2015 |
6. | แม็กซ์ กราแดล | 98 | 16 | 2011–ปัจจุบัน |
7. | ซาลอมง กาลู | 96 | 27 | 2007–2017 |
8. | อาบดูลาย ตราโอเร | 90 | 49 | 1984–1996 |
9. | อาร์ตูร์ โบกา | 88 | 1 | 2004–2015 |
แฌร์วินโย | 88 | 23 | 2007–ปัจจุบัน | |
11. | บูบาการ์ แบร์รี | 86 | 0 | 2000–2015 |
12. | แซร์ฌ โอรีเย | 81 | 4 | 2013–ปัจจุบัน |
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand in your browser!
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.