Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กรดแอสปาร์ติก (อังกฤษ: Aspartic acid) ย่อว่า Asp หรือ D[3] เป็นกรดอะมิโน-α ด้วยสูตรเคมี HOOCCH(NH2)CH2COOH คาร์บอไซเลต แอนไอออน, เกลือ หรือเอสเทอร์ของกรดแอสปาร์ติกที่เรียกว่า แอสปาร์เตต แอล-ไอโซเมอร์ ของแอสปาร์ติกเป็นหนึ่งในกรดอะมิโนโปรเตไอโนเกนิค 20 ตัว กล่าวคือ เป็นหน่วยการสร้างโปรตีน โคดอนของมันเป็น GAU และ GAC
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC names
Trivial: Aspartic acid Systematic: 2-Aminobutanedioic acid | |
ชื่ออื่น
Aminosuccinic acid, asparagic acid, asparaginic acid[1] | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol) |
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.000.265 |
KEGG | |
ผับเคม CID |
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA) |
|
InChI
| |
SMILES
| |
คุณสมบัติ | |
C4H7NO4 | |
มวลโมเลกุล | 133.103 g·mol−1 |
ลักษณะทางกายภาพ | colourless crystals |
ความหนาแน่น | 1.7 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 270°C |
จุดเดือด | 324°C (decomposes) |
4.5 g/L [2] | |
pKa | 3.9 |
ความอันตราย | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
กรดแอสปาร์ติก ค้นพบครั้งแรกในปี 1827 โดย พริสสัน ที่ได้มาจากแอสปาราจีน ซึ่งแยกออกมาจากน้ำหน่อไม้ฝรั่งในปี 1806 โดยการต้มที่มีฐาน[4]
กรดแอสปาร์ติก ไม่จำเป็นในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มีการผลิตจากออกซาโลแอคเตรต โดยการทรานส์อะมิเนชัน นอกจากนี้ยังสามารถสร้างขึ้นจากออร์ไนธีน และซิทรูลีน ในวัฏจักรยูเรีย ในพืชและจุลินทรีย์ แอสปาร์เตต เป็นสารตั้งต้นให้กรดอะมิโนหลาย ๆ อย่างรวมทั้งสี่ อย่างที่จำเป็นต่อมนุษย์ ไดแก่ เมธไอโอนิน ,ทรีโอนีน ,ไอโซลียูซีน และไลซีน แอสเปราจีน ได้มาจาก แอสปาร์เตต ผ่านการทรานส์อะมิเนชัน ไดแก่
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.