Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โซเดียม (อังกฤษ: Sodium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ Na (จากคำว่า Natrium ในภาษาละติน[4]) และหมายเลขอะตอม 11 โซเดียมเป็นโลหะอ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่มโลหะแอลคาไล โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะแฮไลต์)
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
โซเดียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
รูปลักษณ์ | โลหะอ่อนสีขาวเงิน | ||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(Na) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
โซเดียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
หมู่ | group 1: hydrogen and alkali metals | ||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 3 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-s | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Ne] 3s1 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2,8,1 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | ของแข็ง | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 370.944 K (97.794 °C, 208.029 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 1156.090 K (882.940 °C, 1621.292 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 0.968 g/cm3 | ||||||||||||||
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.) | 0.927 g/cm3 | ||||||||||||||
Critical point | (extrapolated) 2573 K, 35 MPa | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 2.60 kJ/mol | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 97.42 kJ/mol | ||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 28.230 J/(mol·K) | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | −1, 0,[2] +1 (ออกไซด์เป็นเบสที่แรง) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 0.93 | ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 186 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 166±9 pm | ||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 227 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของโซเดียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | รูปลูกบาศก์กลางตัว | ||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | 71 µm/(m⋅K) (ณ 25 °C) | ||||||||||||||
การนำความร้อน | 142 W/(m⋅K) | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 47.7 n Ω⋅m (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก[3] | ||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | 10 GPa | ||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 3.3 GPa | ||||||||||||||
Bulk modulus | 6.3 GPa | ||||||||||||||
Speed of sound thin rod | 3200 m/s (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
Mohs hardness | 0.5 | ||||||||||||||
Brinell hardness | 0.69 MPa | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-23-5 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การค้นพบ | ฮัมฟรี เดวี (1807) | ||||||||||||||
การแยกให้บริสุทธิ์เป็นครั้งแรก | ฮัมฟรี เดวี (1807) | ||||||||||||||
สัญลักษณ์ | "Na": from New Latin natrium, coined from German Natron, 'natron' | ||||||||||||||
ไอโซโทปของโซเดียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของโซเดียม | |||||||||||||||
โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง ออกซิไดส์ในอากาศทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับโซเดียมทำให้เกิดเปลวไฟและมันยังทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำจนเกิดการระเบิดได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ในน้ำมันเพื่อให้ไม่เกิดอุบัติเหต
Sir Humphry Davy เป็นคนแรกที่สกัดธาตุโพแทสเซียมก่อนตามด้วยธาตุโซเดียมใน ปี ค.ศ. 1807 ขณะที่เขาศึกษาปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามลำดับ ในปีถัดมาคือปี ค.ศ. 1808 Gay-Lussac และ Thernard สามารถเตรียมโลหะโซเดียมได้โดยนำโซเดียมไฮดรอกไซด์มารีดิวซ์ด้วยเหล็กที่อุณหภูมิสูง ในปี ค.ศ. 1921 บริษัท du Pont ผลิตโซเดียมได้ในราคาถูกมาก โดยใช้ Downs cell สัญลักษณ์ของธาตุนี้มาจากคำละติน Natrium
ด้านสมบัติทางกายภาพของโซเดียมเป็น โลหะตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี โลหะบางชนิดนำความร้อนได้ดีกว่า Na ได้แก่ เงิน ทอง อะลูมินัม และทองคำ เป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความร้อน (heat exchange medium) เป็นตัวหล่อเย็นในปฏิกรณ์นิวเคลียร์[5]
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.