Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โกปปาอีตาเลีย (อิตาลี: Coppa Italia) หรือ อิตาลีคัพ (อังกฤษ: Italy Cup) มีชื่ออย่างเป็นทางการคือ ทิม คัพ (TIM Cup) [1] ตามชื่อของสปอนเซอร์ เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยภายในของประเทศอิตาลี เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรก เมื่อปี ค.ศ. 1922 แต่ได้เว้นว่างไปนาน จนกระทั่งกลับมาแข่งขันกันอีกครั้งในปี ค.ศ. 1935 หลังจากนั้นก็ได้หยุดทำการแข่งขันอีกครั้ง เนื่องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี ค.ศ. 1943 และได้กลับมาทำการแข่งขันกันอีกครั้งหนึ่ง ในปี ค.ศ. 1958 ซึ่งแชมป์ของรายการนี้ ในอดีตจะได้เข้าร่วมแข่งขันในฟุตบอลสโมสรยุโรป รายการยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพในฤดูกาลถัดไปโดยอัตโนมัติ แต่หลังจากที่รายการยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ ได้ถูกผนวกรวมเข้ากับรายการยูฟ่าคัพ ทีมที่ได้แชมป์รายการนี้ จึงได้สิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันในศึกยูฟ่าคัพแทน และตั้งแต่ฤดูกาล 2009-10 เป็นต้นไป ทีมแชมป์ของรายการนี้ จะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มทันที ของรายการยูฟ่ายูโรปาลีกหรือยูฟ่าคัพเดิมนั่นเอง โดยสโมสรที่คว้าแชมป์ได้ทุกๆ 10 สมัย จะได้รับสัญลักษณ์ดาวสีเงินติดอยู่ด้านบนของสัญลักษณ์ทีมบนเสื้อ 1 ดวง ซึ่งก็คล้ายกับที่จะได้สัญลักษณ์ดาวสีทอง เมื่อคว้าแชมป์เซเรียอา ครบ 10 สมัย อย่างไรก็ดี ในขณะนี้มีสโมสรอยู่ 1 ทีมเท่านั้นที่ได้รับสัญลักษณ์ดาวสีเงินได้แก่ ยูเวนตุส
ก่อตั้ง | ค.ศ.1922 (102ปี) |
---|---|
ภูมิภาค | อิตาลี |
จำนวนทีม | 78 |
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน | ยูเวนตุส (15 สมัย) |
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด | ยูเวนตุส (15 สมัย) |
เว็บไซต์ | Official Coppa Italia Site |
โกปปาอีตาเลีย ฤดูกาล 2023–24 |
การแข่งขันรายการนี้เป็นที่รู้กันดีว่ามีจำนวนผู้เข้าชมการแข่งขันในสนามน้อยมาก ทีมส่วนใหญ่มักจะไม่ค่อยให้ความสำคัญกับรายการนี้ และมักจะไม่ส่งตัวผู้เล่นที่ดีที่สุดของทีมลงสนาม
ตั้งแต่ฤดูกาล 2008–09 มีทีมเข้าร่วมแข่งขันในรายการนี้ 78 ทีม จากเดิม 42 ทีม เมื่อฤดูกาลก่อน ที่มีแค่ 20 ทีม จากเซเรีย อา และ 22 ทีม จากเซเรีย เบ โดยได้เพิ่มอีก 18 ทีมจากเลกาโปรปรีมาดีวีซีโอเน (เซเรีย เซ 1 เดิม), 9 ทีม จากเลกาโปรเซกอนดาดีวีซีโอเน (เซเรีย เซ 2 เดิม) และ 9 ทีมจากเซเรีย เด โดยที่ในทุกรอบการแข่งขัน (ยกเว้นในรอบรองชนะเลิศ) จะทำการแข่งขันเพียงแค่นัดเดียวเท่านั้น ในบ้านของผู้ชนะในการจับสลาก ส่วนในรอบรองชนะเลิศ จะทำการแข่งขันแบบเหย้า-เยือน ขณะที่ในรอบชิงชนะเลิศจะจัดขึ้นที่สตาดีโอโอลิมปีโกในกรุงโรม
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
---|---|---|---|---|
2023-24 | ยูเวนตุส | 1 - 0 | อาตาลันตา | อาร์กาดียุช มีลิก (ยูเวนตุส) (4) |
2022-23 | อินเตอร์ | 2 - 1 | ฟีโอเรนตีนา | วะลีด เชดดีร่า (บารี่) (5) |
2021-22 | อินเตอร์ | 4 - 2 | ยูเวนตุส | ดูชัน วลาคอวิช (ฟิออเรนตินา/ยูเวนตุส) (4) |
2020-21 | ยูเวนตุส | 2 - 1 | อาตาลันตา | จิอันลูก้า สกามัคค่า (เจนัว) (4) |
2019-20 | นาโปลี | 0 - 0 4 - 2 (ดวลจุดโทษ)[2] |
ยูเวนตุส | จิอันลูก้า สกามัคค่า (อัสโคลี พิคชิโอ) (4) ไมเคิล วาโน่ (คาปี) |
2018-19 | ลาซีโอ | 2 - 0 | อาตาลันตา | กชึชตอฟ ปีออนแต็ก (เจนัว/มิลาน) (8) |
2017-18 | ยูเวนตุส | 4 - 0 | เอซี มิลาน | อัลแบร์โต แซร์รี (เปรูจา) (4) มัตเตโอ ดิ ปิอัซซา (เลกเซ) มักซี โลเปซ (อูดีเนเซ) |
2016-17 | ยูเวนตุส | 2 - 0 | ลาซีโอ | มาร์โก บอร์ริเอลโล (คัลยารี) (4) เปาโล ดีบาลา (ยูเวนตุส) กอรัน ปานเดฟ (เจนัว) |
2015-16 | ยูเวนตุส | 1 - 0 | เอซี มิลาน | จิอูลิโอ บิซซอตโต (ซิตตาเดลลา) (5) |
2014-15 | ยูเวนตุส | 2 - 1 | ลาซีโอ | อันโตนีโอ ดี นาตาเล (อูดีเนเซ) (5) |
2013-14 | นาโปลี | 3 - 1 | ฟีโอเรนตีนา | |
2012-13 | ลาซีโอ | 1 - 0 | โรมา | มาตเตีย เดสโตร (โรมา) (5) |
2011-12 | นาโปลี | 2 - 0 | ยูเวนตุส | เอดินซอน กาบานี (นาโปลี) (5) |
2010-11 | อินเตอร์ | 3 - 1 | ปาแลร์โม | ซามูแอล เอโต (อินเตอร์) (5) |
2009-10 | อินเตอร์ | 1 - 0 | โรมา | อาเดรียน มูตู (ฟีโอเรนตีนา) (4) อแล็ง ปิแอร์ บัคเล่ต์ (เลชเช่) ราชิด อาร์ม่า (สปาล) |
2008-09 | ลาซีโอ | 1 - 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 6 - 5 (ดวลจุดโทษ) |
ซัมป์โดเรีย | โกรัน ปานเดฟ (ลาซีโอ) (6) |
2007-08 | โรมา | 2 - 1 | อินเตอร์ | มารีโอ บาโลเตลลี (อินเตอร์) (4) ฮูลิโอ ครูซ (อินเตอร์) วินเชนโซ่ ยากวินต้า (ยูเวนตุส) |
ฤดูกาล | ทีมเหย้า | ผลคะแนน | ทีมเยือน | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
2006-07 | โรมา อินเตอร์ |
6 – 2 2 – 1 |
อินเตอร์ โรมา |
ซิโมเน่ แปร์ร็อตต้า (โรมา) (4) เอร์นัน เครสโป (อินเตอร์) นิโคลัส บูร์ดิสโซ่ (อินเตอร์) เอมิลิอาโน่ โบนัซโซลี่ (ซัมป์โดเรีย) ฟรานเชสโก้ ฟลาคี่ (ซัมป์โดเรีย) จูเซ็ปเป้ เกรโก้ (เจนัว) |
รวมผลสองนัด โรมา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 7-4 | ||||
2005-06 | โรมา อินเตอร์ |
1 – 1 3 – 1 |
อินเตอร์ โรมา |
อเลสซานโดร เดล ปิเอโร่ (ยูเวนตุส) (5) |
รวมผลสองนัด อินเตอร์ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 4-2 | ||||
2004-05 | โรมา อินเตอร์ |
0 – 2 1 – 0 |
อินเตอร์ โรมา |
อันเดรีย ลาซซารี่ (อาตาลันตา) (9) |
รวมผลสองนัด อินเตอร์ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-0 | ||||
2003-04 | ลาซีโอ ยูเวนตุส |
2 – 0 2 – 2 |
ยูเวนตุส ลาซีโอ |
สเตฟาโน่ ฟิออเร่ (ลาซีโอ) (6) |
รวมผลสองนัด ลาซีโอ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 4-2 | ||||
2002-03 | โรมา มิลาน |
1 – 4 2 – 2 |
มิลาน โรมา |
ฟาบริซิโอ้ มิชโคลี่ (เปรูจา) (5) |
รวมผลสองนัด มิลาน เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 6-3 | ||||
2001-02 | ยูเวนตุส ปาร์มา |
2 – 1 1 – 0 |
ปาร์มา ยูเวนตุส |
นิโคล่า อโมรูโซ่ (ยูเวนตุส) (6) |
รวมผลสองนัด เสมอกัน 2-2 ปาร์มา เป็นผู้ชนะด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือน | ||||
2000-01 | ปาร์มา ฟีโอเรนตีนา |
0 – 1 1 – 1 |
ฟีโอเรนตีนา ปาร์มา |
สเตฟาน ชวอค (โตรีโน) (8) |
รวมผลสองนัด ฟีโอเรนตีนา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 2-1 | ||||
1999-2000 | ลาซีโอ อินเตอร์ |
2 – 1 0 – 0 |
อินเตอร์ ลาซีโอ |
แพทริค เอ็มโบม่า (คัลยารี) (6) ฟรานเชสโก้ ฟลาคี่ (ซัมป์โดเรีย) นิโคล่า คัชช่า (อาตาลันตา) ดาวิด ดิ มิเคเล่ (ซาแลร์นิตาน่า) |
รวมผลสองนัด ลาซีโอ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 2-1 | ||||
1998-99 | ปาร์มา ฟีโอเรนตีนา |
1 – 1 2 – 2 |
ฟีโอเรนตีนา ปาร์มา |
เอร์นัน เครสโป (ปาร์มา) (6) |
รวมผลสองนัด เสมอกัน 3-3 ปาร์มา เป็นผู้ชนะด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือน | ||||
1997-98 | มิลาน ลาซีโอ |
1 – 0 3 – 1 |
ลาซีโอ มิลาน |
จูเซ็ปเป้ ซิญญอรี่ (ลาซีโอ) (6) |
รวมผลสองนัด ลาซีโอ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-2 | ||||
1996-97 | นาโปลี | 1 – 0 | วีเชนซา | |
วีเชนซา | 3 – 0 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
นาโปลี | ริคคาร์โด้ มาสเปโร่ (เครโมเนเซ่) (5) | |
รวมผลสองนัด วีเชนซา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-1 | ||||
1995-96 | ฟีโอเรนตีนา อาตาลันตา |
1 – 0 0 – 2 |
อาตาลันตา ฟีโอเรนตีนา |
กาเบรียล บาติสตูต้า (ฟีโอเรนตีนา) (8) |
รวมผลสองนัด ฟีโอเรนตีนา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-0 | ||||
1994-95 | ยูเวนตุส ปาร์มา |
1 – 0 0 – 2 |
ปาร์มา ยูเวนตุส |
ฟาบริซิโอ้ ราวาเนลลี่ (ยูเวนตุส) (6) มาร์โก้ บรังก้า (ปาร์มา) |
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-0 | ||||
1993-94 | อังโกนา ซัมป์โดเรีย |
0 – 0 6 – 1 |
ซัมป์โดเรีย อังโกนา |
อัตติลิโอ้ ลอมบาร์โด้ (ซัมป์โดเรีย) (5) |
รวมผลสองนัด ซัมป์โดเรีย เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 6-1 | ||||
1992-93 | โตรีโน โรมา |
3 – 0 5 – 2 |
โรมา โตรีโน |
จูเซ็ปเป้ ซิญญอรี่ (ลาซีโอ) (6) |
รวมผลสองนัด เสมอกัน 5-5 โตรีโน เป็นผู้ชนะด้วยกฎการยิงประตูในฐานะทีมเยือน | ||||
1991-92 | ยูเวนตุส ปาร์มา |
1 – 0 2 – 0 |
ปาร์มา ยูเวนตุส |
อเลสซานโดร เมลลี่ (ปาร์มา) (5) |
รวมผลสองนัด ปาร์มา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 2-1 | ||||
1990-91 | โรมา ซัมป์โดเรีย |
3 – 1 1 – 1 |
ซัมป์โดเรีย โรมา |
รุกกิเอโร่ ริซซิเตลลี่ (โรมา) (4) รูดี้ โฟลเลอร์ (โรมา) |
รวมผลสองนัด โรมา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 4-2 | ||||
1989-90 | ยูเวนตุส มิลาน |
0 – 0 0 – 1 |
มิลาน ยูเวนตุส |
ฟรังโก้ บาเรซี่ (มิลาน) (4) |
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 1-0 | ||||
1988-89 | นาโปลี ซัมป์โดเรีย |
1 – 0 4 – 0 |
ซัมป์โดเรีย นาโปลี |
จานลูก้า วิอัลลี่ (ซัมป์โดเรีย) (13) |
รวมผลสองนัด ซัมป์โดเรีย เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 4-1 | ||||
1987-88 | ซัมป์โดเรีย | 2 – 0 | โตรีโน | |
โตรีโน | 2 – 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
ซัมป์โดเรีย | ดิเอโก้ มาราโดน่า (นาโปลี) (6) | |
รวมผลสองนัด ซัมป์โดเรีย เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-2 | ||||
1986-87 | นาโปลี อาตาลันตา |
3 – 0 0 – 1 |
อาตาลันตา นาโปลี |
บรูโน่ จอร์ดาโน่ (นาโปลี) (9) |
รวมผลสองนัด นาโปลี เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 4-0 | ||||
1985-86 | ซัมป์โดเรีย โรมา |
2 – 1 2 – 0 |
โรมา ซัมป์โดเรีย |
ลูก้า เคชโชนี่ (เอ็มโปลี) (9) |
รวมผลสองนัด โรมา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-2 | ||||
1984-85 | มิลาน ซัมป์โดเรีย |
0 – 1 2 – 1 |
ซัมป์โดเรีย มิลาน |
เทรเวอร์ ฟรานซิส (ซัมป์โดเรีย) (9) |
รวมผลสองนัด ซัมป์โดเรีย เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-1 | ||||
1983-84 | เวโรนา โรมา |
1 – 1 1 – 0 |
โรมา เวโรนา |
วอลเตอร์ ชัชเนอร์ (โตรีโน) (8) |
รวมผลสองนัด โรมา เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 2-1 | ||||
1982-83 | เวโรนา | 2 – 0 | ยูเวนตุส | |
ยูเวนตุส | 3 – 0 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
เวโรนา | จูเซ็ปเป้ เกรโก้ (อัสโคลี่) (9) | |
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 3-2 | ||||
1981-82 | อินเตอร์ โตรีโน |
1 – 0 1 – 1 |
โตรีโน อินเตอร์ |
อเลสซานโดร อัลโตเบลลี่ (อินเตอร์) (9) |
รวมผลสองนัด อินเตอร์ เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 2-1 | ||||
1980-81 | โรมา | 1 – 1 | โตรีโน | |
โตรีโน | 1 – 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 2 - 3 (ดวลจุดโทษ) |
โรมา | ฟรานเชสโก้ กราเซียนี่ (โตรีโน) (5) | |
รวมผลสองนัด เสมอกัน 2-2 โรมา ชนะในการดวลจุดโทษ 3-2 โรมา เป็นผู้ชนะ | ||||
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
1979-80 | โรมา | 0 - 0 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 3 - 2 (ดวลจุดโทษ) |
โตรีโน | โรแบร์โต้ ปรูซโซ่ (เจนัว) (6) จูเซ็ปเป้ ดาเมียนี่ (นาโปลี) |
1978-79 | ยูเวนตุส | 2 - 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
ปาแลร์โม | มัสซิโม่ ปาลันก้า (คาตันซาโร) (8) |
1977-78 | อินเตอร์ | 2 - 1 | นาโปลี | จูเซ็ปเป้ ซาโวลดี้ (โบโลญญา) (12) |
1976-77 | มิลาน | 2 - 0 | อินเตอร์ | เอกิดิโอ้ คัลโลนี่ (มิลาน) (6) จอร์โจ้ บราญ่า (มิลาน) |
1975-76 | นาโปลี | 4 - 0 | เวโรนา | แซร์โจ้ มากิสเตรลลี่ (ซัมป์โดเรีย) (7) |
1974-75 | ฟีโอเรนตีนา | 3 - 2 | มิลาน | ปิเอโตร อนาสตาซี่ (ยูเวนตุส) (9) |
1973-74 | โบโลญญา | 1 - 1 (ในเวลา 90 นาที) 4 - 3 (ดวลจุดโทษ) |
ปาแลร์โม | จูเซ็ปเป้ ซาโวลดี้ (โบโลญญา) (10) |
1972-73 | มิลาน | 1 - 1 (ในเวลา 90 นาที) 4 - 2 (ดวลจุดโทษ) |
ยูเวนตุส | ลุยจิ ริว่า (คัลยารี) (8) |
1971-72 | มิลาน | 2 - 0 | นาโปลี | โรแบร์โต้ โบนินเซญญ่า (อินเตอร์) (8) |
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
1970-71 | โตรีโน | 7 – 7 (รอบแบ่งกลุ่ม) 0 - 0 (เพลย์-ออฟ) (ในเวลา 90 นาที) 5 - 3 (ดวลจุดโทษ) |
มิลาน | จานนี่ ริเวร่า (มิลาน) (7) |
หมายเหตุ: รอบชิงชนะเลิศมี 4 ทีม แข่งขันแบบแบ่งกลุ่ม พบกันหมด เหย้า-เยือน โตรีโนกับมิลาน มีคะแนนมากที่สุดเท่ากัน ต้องแข่งเพลย์-ออฟ ตัดสินแชมป์ เสมอกัน 0-0 ในเวลา 90 นาที โตรีโน ชนะในการดวลจุดโทษ 5-3 โตรีโน เป็นผู้ชนะ | ||||
1969-70 | โบโลญญา | 9 – 8 | โตรีโน | จูเซ็ปเป้ ซาโวลดี้ (โบโลญญา) (10) |
หมายเหตุ: รอบชิงชนะเลิศมี 4 ทีม แข่งขันแบบแบ่งกลุ่ม พบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมที่มีคะแนนมากที่สุดคือ โบโลญญา เป็นผู้ชนะ | ||||
1968-69 | โรมา | 9 – 6 | คัลยารี | ลุยจิ ริว่า (คัลยารี) (8) |
หมายเหตุ: รอบชิงชนะเลิศมี 4 ทีม แข่งขันแบบแบ่งกลุ่ม พบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมที่มีคะแนนมากที่สุดคือ โรมา เป็นผู้ชนะ | ||||
1967-68 | โตรีโน | 9 – 7 | มิลาน | ลูโช่ มูเจซาน (บารี) (6) |
หมายเหตุ: รอบชิงชนะเลิศมี 4 ทีม แข่งขันแบบแบ่งกลุ่ม พบกันหมด เหย้า-เยือน ทีมที่มีคะแนนมากที่สุดคือ โตรีโน เป็นผู้ชนะ | ||||
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
1966-67 | มิลาน | 1 - 0 | ปาโดวา | จานนี่ ริเวร่า (มิลาน) (7) |
1965-66 | ฟีโอเรนตีนา | 2 - 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
คาตันซาโร | เคิร์ท ฮัมริน (ฟีโอเรนตีนา) (5) |
1964-65 | ยูเวนตุส | 1 - 0 | อินเตอร์ | จามเปาโล เมนิเคลลี่ (ยูเวนตุส) (3) บรูโน่ เปโตรนี่ (อาตาลันตา) เรนโซ่ คัปเปลลาโร่ (คัลยารี) ลุยจิ ริว่า (คัลยารี) ฟรานเชสโก้ ริซโซ่ (คัลยารี) คาเน่ (นาโปลี) |
1963-64 | โรมา | 0 - 0 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 1 - 0 (แข่งใหม่) |
โตรีโน | เปโดร มันเฟรดินี่ (โรมา) (4) ฆัวกิน ไปโร่ (โตรีโน) ฆวน เซมินาริโอ้ (ฟีโอเรนตีนา) เคิร์ท ฮัมริน (ฟีโอเรนตีนา) |
1962-63 | อาตาลันตา | 3 - 1 | โตรีโน | อันเจโล่ โดเมนกินี่ (อาตาลันตา) (5) |
1961-62 | นาโปลี | 2 - 1 | สปาล | เคลาดิโอ้ กิลาร์โดนี่ (นาโปลี) (3) ดันเต้ มิเคลี่ (สปาล) เอตตอเร่ เรคัญญี่ (มันโตว่า) อิตาโล่ มัซเซโร่ (มันโตว่า) เอกิดิโอ้ ฟูมากัลลี่ (โนวาร่า) |
1960-61 | ฟีโอเรนตีนา | 2 - 0 | ลาซีโอ | จานฟรังโก้ เปตริส (ฟีโอเรนตีนา) (4) ลุยจิ มิลาน (ฟีโอเรนตีนา) โฮเซ่ อัลตาฟินี่ (มิลาน) |
1959-60 | ยูเวนตุส | 3 - 2 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
ฟีโอเรนตีนา | จานฟรังโก้ เปตริส (ฟีโอเรนตีนา) (4) |
1958-59 | ยูเวนตุส | 4 - 1 | อินเตอร์ | เอ็ดวิง ฟีร์มานี่ (อินเตอร์) (8) |
1958 | ลาซีโอ | 1 - 0 | ฟีโอเรนตีนา | ฮุมแบร์โต้ ตอซซี่ (ลาซีโอ) (11) |
1942-43 | โตรีโน | 4 - 0 | เวเนเซีย | วาเลนติโน่ มัซโซล่า (โตรีโน) (5) ฟรังโก้ ออสโซล่า (โตรีโน) บรูโน่ อิสปิโร่ (เจนัว) วิตตอริโอ้ เซนติเมนติ (ยูเวนตุส) |
1941-42 | ยูเวนตุส | 1 - 1 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 4 - 1 (แข่งใหม่) |
มิลาน | ริซ่า ลุชต้า (ยูเวนตุส) (8) |
1940-41 | เวเนเซีย | 3 - 3 (หลังต่อเวลาพิเศษ) 1 - 0 (แข่งใหม่) |
โรมา | |
1939-40 | ฟีโอเรนตีนา | 1 - 0 | เจนัว | |
1938-39 | อินเตอร์ | 2 - 1 | โนวารา | |
ฤดูกาล | ทีมเหย้า | ผลคะแนน | ทีมเยือน | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
1937-38 | โตรีโน ยูเวนตุส |
1 – 3 2 – 1 |
ยูเวนตุส โตรีโน |
|
รวมผลสองนัด ยูเวนตุส เป็นผู้ชนะด้วยประตูรวม 5-2 | ||||
ฤดูกาล | ชนะเลิศ | ผลคะแนน | รองชนะเลิศ | ผู้ทำประตูสูงสุด (ทีม) (ประตู) |
1936-37 | เจนัว | 1 - 0 | โรมา | |
1935-36 | โตรีโน | 5 - 1 | อาเลสซานเดรีย | |
1922 | วาโด | 1 - 0 (หลังต่อเวลาพิเศษ) |
อูดีเนเซ |
สโมสร | ชนะเลิศ | รองชนะเลิศ | ปีชนะเลิศ | ปีรองชนะเลิศ |
---|---|---|---|---|
ยูเวนตุส | 1938, 1942, 1959, 1960, 1965, 1979, 1983, 1990, 1995, 2015, 2016, 2017, 2018, 2021, 2024 | 1973, 1992, 1995, 2002, 2004, 2020, 2022 | ||
โรมา | 1964, 1969, 1980, 1981, 1984, 1986, 1991, 2007, 2008 | 1937, 1941, 1993, 2003, 2005, 2006, 2010, 2013 | ||
อินเตอร์มิลาน | 1939, 1978, 1982, 2005, 2006, 2010, 2011, 2022, 2023 | 1959, 1965, 1977, 2000, 2007, 2008 | ||
ลาซีโอ | 1958, 1998, 2000, 2004, 2009, 2013, 2019 | 1961, 2015, 2017 | ||
ฟีโอเรนตีนา | 1940, 1961, 1966, 1975, 1996, 2001 | 1958, 1960, 1999, 2014, 2023 | ||
นาโปลี | 1962, 1976, 1987, 2012, 2014, 2020 | 1972, 1978, 1989, 1997 | ||
เอซี มิลาน | 1967, 1972, 1973, 1977, 2003 | 1942, 1968, 1971, 1975, 1985, 1990, 1998, 2016, 2018 | ||
โตรีโน | 1936, 1943, 1968, 1971, 1993 | 1938, 1963, 1964, 1970, 1980, 1981, 1982, 1988, | ||
ซัมป์โดเรีย | 1985, 1988, 1989, 1994 | 1986, 1991, 2009 | ||
ปาร์มา | 1992, 1999, 2002 | 1995, 2001 | ||
โบโลญญา | 1970, 1974 | |||
อาตาลันตา | 1963 | 1987, 1996, 2019, 2021, 2024 | ||
เจนัว | 1937 | 1940 | ||
เวเนเซีย | 1941 | 1943 | ||
วาโด | 1922 | |||
วีเชนซา | 1997 | |||
ปาแลร์โม | 1974, 1979, 2011 | |||
เฮลแลสเวโรนา | 1976, 1983, 1984 | |||
อูดีเนเซ | 1922 | |||
อาเลสซานเดรีย | 1936 | |||
โนวารา | 1939 | |||
สปาล | 1962 | |||
คาตันซาโร | 1966 | |||
ปาโดวา | 1967 | |||
คัลยารี | 1969 | |||
อังโกนา | 1994 | |||
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.