Remove ads
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ เป็นอักษรรูปลิ่มกึ่งชุดตัวอักษรที่เคยใช้เป้นอักษรหลักสำหรับภาษาเปอร์เซียโบราณ ข้อความที่เขียนด้วยอักษรนี้พบในประเทศอิหร่าน (เปอร์เซเปอลิส, ซูซา, แฮเมดอน, เกาะฆอร์ก), อาร์มีเนีย, โรมาเนีย (เกรลา),[1][2][3] ตุรกี (ป้อมปราการวาน) และริมคลองสุเอซ[4] จารึกส่วนใหญ่มาจากสมัยดาไรอัสมหาราช เช่น จารึกดีนา กับจักรพรรดิเซิร์กซีสที่ 1 พระราชโอรส กษัตริย์ยุคหลังจนถึงจักรพรรดิอาร์ตาเซิร์กซีสที่ 3 ใช้ภาษาในรูปแบบใหม่กว่าที่จัดเป็น "ภาษาเปอร์เซียก่อนสมัยกลาง" (pre-Middle Persian)[4]
อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ | |
---|---|
ชุดตัวหนังสือพยางค์อักษรรูปลิ่มเปอร์เซียโบราณ (ซ้าย) และจารึกดีนา (ส่วนที่ 2, ขวา) ของดาไรอัสมหาราช (ป. 490 ปีก่อน ค.ศ.) ในอักษรที่พึ่งสร้างใหม่ | |
ชนิด | กึ่งชุดตัวหนังสือพยางค์
|
ช่วงยุค | 525 – 330 ปีก่อน ค.ศ. |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | ภาษาเปอร์เซียโบราณ |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Xpeo (030), Old Persian |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Old Persian |
ช่วงยูนิโคด | U+103A0–U+103D5
Download "Behistun", a free Old Persian Cuneiform Unicode font, install and refresh the page. If you don't use Firefox or Opera, see the attached page to configure your browser's encoding to Unicode. |
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.