Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สุลต่านบายาซิดที่ 2 (ตุรกีออตโตมัน: بايزيد ثانى, 3 ธันวาคม ค.ศ. 1447 – 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1512) พระองค์ทรงขึ้นราชสมบัติแทนสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 สุลต่านบายาซิดที่ 2 มีนิสัยแตกต่างจากสุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 พระองค์ได้รับอิทธิพลจากนักซูฟีจนใช้เวลาส่วนมากกับการซิกิรต่ออัลลอหุไม่มีเวลาถืออาวุธสู่สนามรบจนได้รับสมญานามว่า "บาเยซิด วาลี"[3][4][5][6][7][8][9][10]
บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่หน้าอภิปราย |
บาเยซิดที่ 2 بايزيد ثانى | |||||
---|---|---|---|---|---|
สุลต่านออตโตมัน (จักรพรรดิ) องค์ที่ 8 | |||||
ครองราชย์ | 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1481 – 24 เมษายน ค.ศ. 1512 | ||||
ก่อนหน้า | สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 | ||||
ถัดไป | สุลต่านเซลิมที่ 1 | ||||
ประสูติ | 3 ธันวาคม ค.ศ. 1447 Demotika, รัฐสุลต่านออตโตมัน (modern-day Demotika, กรีซ) | ||||
สวรรคต | 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1512 ปี) Abalar, Havsa, จักรวรรดิออตโตมัน | (64||||
ฝังพระศพ | Bayezid II Mosque, Istanbul | ||||
Consorts | Şirin Hatun Hüsnüşah Hatun Bülbül Hatun Nigar Hatun Gülruh Hatun Gülbahar Valide Hatun Ferahşad Hatun | ||||
พระราชบุตร | Şehzade Sultan Ahmed Şehzade Sultan Korkud เซลิมที่ 1 Aynışah Hatun Ayşe Hatun | ||||
| |||||
ราชวงศ์ | ออตโตมัน | ||||
พระราชบิดา | สุลต่านเมห์เหม็ดที่ 2 | ||||
พระราชมารดา | Gülbahar Hatun[1][2] | ||||
ศาสนา | อิสลามนิกายซุนนี | ||||
ทูกรา |
เหตุการณ์ต่อมาคือชาติสเปนและโปรตุเกสออกล่าอาณานิคมทั้งทางตะวันออกและตะวันตกเมืองที่ตกอยู่ภายใต้อำนาจพระสันตะปาปาได้แบ่งเป็นสัดส่วนเพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งในภายหลัง ช่วงเวลานี่เองเกิดสงครามแย่งชิงราชบัลลังก์ระหว่างพ่อกับลูกบายาซิดที่ 2 กับเซลิมที่ 1 และในปี ค.ศ. 1511 อัลฟองโซ เดอแอลบุแวร์เข้ารุกรานอาณาจักรมุสลิมอาณาจักรมะละฆาและสามารถยึดครองมะละฆาซึ่งอยู่ไม่ห่างไกลจากอิสตันบูลนักออตโตมานไม่อาจให้ความช่วยเหลือใดๆ ทั้งสิ้นในปี ค.ศ. 1512 สุลต่านบายาซิดที่ 2 ทรงสละราชย์บัลลังก์ให้แก่ราชโอรสเซลิมที่ 1
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.