สถานีโชคชัย 4
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สถานีโชคชัย 4 (อังกฤษ: Chok Chai 4 station; รหัส: YL03) เป็นสถานีรถไฟฟ้ามหานครแบบยกระดับในเส้นทางสายสีเหลือง โดยยกระดับเหนือถนนลาดพร้าวในพื้นที่เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร[2]
โชคชัย 4 YL03 Chok Chai 4 | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |||||||||||
ที่ตั้ง | ถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร | ||||||||||
พิกัด | 13°47′40″N 100°35′39″E | ||||||||||
เจ้าของ | การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย | ||||||||||
ผู้ให้บริการ | อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล (อีบีเอ็ม) | ||||||||||
สาย | |||||||||||
ชานชาลา | 2 ชานชาลาด้านข้าง | ||||||||||
ทางวิ่ง | 2 | ||||||||||
โครงสร้าง | |||||||||||
ประเภทโครงสร้าง | ยกระดับ | ||||||||||
ข้อมูลอื่น | |||||||||||
รหัสสถานี | YL03 | ||||||||||
ประวัติ | |||||||||||
เริ่มเปิดให้บริการ | 03 กรกฎาคม พ.ศ. 2566[1] | ||||||||||
การเชื่อมต่อ | |||||||||||
|
สถานีโชคชัย 4 ตั้งอยู่เหนือถนนลาดพร้าว บริเวณทางแยกโชคชัย 4 (จุดตัดกับถนนโชคชัย 4) ในพื้นที่แขวงสะพานสองและแขวงวังทองหลาง เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร[3][4]
ใช้สีเหลืองตกแต่งสถานีเพื่อสื่อให้เห็นว่าเป็นสถานีของโครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง
เป็นสถานียกระดับ มีชานชาลาด้านข้าง ขนาดมาตรฐาน ประกอบด้วยชั้นขายบัตรโดยสารและชานชาลา มีประตูอัตโนมัติกั้นชานชาลาแบบครึ่งความสูง ในส่วนหลังคาชานชาลามีการออกแบบให้ป้องกันฝนสาดและแดดส่อง
ประกอบด้วยทางขึ้น–ลงปกติ ได้แก่[5]
U3 ชานชาลา | ||
ชานชาลา 1 | สายสีเหลือง มุ่งหน้า สำโรง (ลาดพร้าว 71) | |
ชานชาลา 2 | สายสีเหลือง มุ่งหน้า ลาดพร้าว (ภาวนา) | |
U2 ชั้นขายบัตรโดยสาร |
ชั้นขายบัตรโดยสาร | ทางออก 1–5, ศูนย์บริการผู้โดยสาร ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร |
G ระดับถนน |
– | ป้ายรถประจำทาง, ถนนลาดพร้าว, โรงเรียนแสงทองเทคโนโลยี ลาดพร้าว, สถานีตำรวจนครบาลโชคชัย |
สายที่ | เขตการเดินรถที่ | จุดเริ่มต้น | จุดสิ้นสุด | ประเภทของรถที่ให้บริการ | ผู้ให้บริการ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|---|---|
73 | 8 (กปด.38) | อู่สวนสยาม | สะพานพุทธ | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | ขสมก. | |
96 | 2 (กปด.12) | อู่มีนบุรี | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||
137 | 8 (กปด.28) | รัชดาภิเษก | รามคำแหง | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม | |
137 | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | |||||
145 | 3 (กปด.33) | อู่แพรกษาบ่อดิน | สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | ||
145 | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | รถบริการตลอดคืน | ||||
145 | เมกาบางนา | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | ||||
178 | 8 (กปด.38) | สวนสยาม | นวลจันทร์ | รถโดยสารประจำทางสีครีม–แดง | เส้นทางรถวิ่งเป็นวงกลม | |
191 | เคหะคลองจั่น | กระทรวงพาณิชย์ | ||||
502 | 2 (กปด.12) | อู่มีนบุรี | อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีครีม–น้ำเงิน | ||
514 | สีลม | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีฟ้า (ใช้แก๊สธรรมชาติ) | ||||
514 | รถโดยสารประจำทางปรับอากาศสีส้ม (ยูโรทู) | |||||
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.