Loading AI tools
บทความรายชื่อวิกิมีเดีย จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รายนามประธานาธิบดีเกาหลีใต้
อนุรักษนิยม เสรีนิยม นักการเมืองอิสระ
คนที่ | ภาพ | ชื่อ | สมัยที่ | วาระ | การเลือกตั้ง (ปี พ.ศ.) |
สังกัด (พรรคและปี พ.ศ. ขณะสังกัด) | |
---|---|---|---|---|---|---|---|
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่หนึ่ง | |||||||
1 | อี ซึง-มัน Rhee Syngman / Ri Seungman 리승만 李承晩 (2418–2508) |
1 | 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2491 |
14 สิงหาคม พ.ศ. 2495 |
2491 — 91.8% | NARRKI [ko] (2491–2494) พรรคเสรีนิยม (2494–2503) | |
2 | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2495 |
14 สิงหาคม พ.ศ. 2499 |
2495 — 74.6% | ||||
3 | 15 สิงหาคม พ.ศ. 2499 |
27 เมษายน พ.ศ. 2503 |
2499 — 70.0% | ||||
2503 — 97.0% | |||||||
ประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสาธารณรัฐเกาหลีที่หนึ่ง เกิดสงครามเกาหลีในช่วงปี พ.ศ. 2493 - 2496 และพ้นวาระเมื่อเกิดการปฏิวัติเดือนเมษายน | |||||||
ในช่วงเวลานี้ นายกรัฐมนตรี โฮ จ็อง (Heo Jeong / 허정 / 許政) รักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดี | |||||||
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่สอง | |||||||
2 | ยุน โบ-ซ็อน Yun Posun / Yun Boseon 윤보선 尹潽善 (2440–2533) |
4 | 12 สิงหาคม พ.ศ. 2503 |
24 มีนาคม พ.ศ. 2505 |
2503 — 82.2% | พรรคประชาธิปไตย (2503–2505) พรรคประชาธิปไตยใหม่ (2505) | |
ประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสาธารณรัฐเกาหลีที่สอง ต่อมา พัก ช็อง-ฮี ได้เข้ายึดอำนาจบริหารงานรัฐในการรัฐประหาร 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2504 | |||||||
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่สาม | |||||||
3 | พัก ช็อง-ฮี Park Chung-hee / Bak Jeonghui 박정희 朴正熙 (2460–2522) |
5 | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2506 |
30 มิถุนายน พ.ศ. 2510 |
2506 — 46.6% | สาธารณรัฐประชาธิปไตย | |
6 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 |
30 มิถุนายน พ.ศ. 2514 |
2510 — 51.4% | ||||
7 | 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2514 |
26 ธันวาคม พ.ศ. 2515 |
2514 — 53.2% | ||||
ประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสาธารณรัฐเกาหลีที่สาม ประสบความสำเร็จในการพัฒนาประเทศให้เป็นประเทศอุตสาหกรรม และเริ่มต้นนโยบายทางการเมืองการปกครองที่ส่งผลมาถึงลักษณะของประเทศเกาหลีใต้ในปัจจุบัน | |||||||
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่สี่ | |||||||
(3) | พัก ช็อง-ฮี Park Chung-hee / Bak Jeonghui 박정희 朴正熙 (2460–2522) |
8 | 27 ธันวาคม พ.ศ. 2515 |
26 ธันวาคม พ.ศ. 2521 |
2515 — 99.9% | พรรคสาธารณรัฐประชาธิปไตย | |
9 | 27 ธันวาคม พ.ศ. 2521 |
26 ตุลาคม พ.ศ. 2522 |
2521 — 99.9% | ||||
ประธานาธิบดีคนที่หนึ่งของสาธารณรัฐเกาหลีที่สี่ ถูกฆาตกรรมโดยคิม แจ-คู เลขาธิการหน่วยสืบราชการลับแห่งชาติเกาหลีใต้ (KCIA) | |||||||
ในช่วงเวลานี้ นายกรัฐมนตรี ชเว กยู-ฮา (Choi Kyu-hah / 최규하 / 崔圭夏) รักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดี | |||||||
4 | ชเว กยู-ฮา Choi Kyu-hah / Choe Gyuha 최규하 崔圭夏 (2462–2549) |
10 | 6 ตุลาคม พ.ศ. 2522 |
16 สิงหาคม พ.ศ. 2523 |
2522 — 96.7% | นักการเมืองอิสระ | |
ประธานาธิบดีคนที่สองของสาธารณรัฐเกาหลีที่สี่ ชเว กยู-ฮาดำรงตำแหน่งผู้นำประเทศโดยพฤตินัยภายหลังการรัฐประหาร 12 ธันวาคม พ.ศ. 2522 และขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในควังจู ในปี พ.ศ. 2523 | |||||||
ในช่วงเวลานี้ นายกรัฐมนตรี พัก ชุงฮุน (Pak Choong-hoon / 박충훈 / 朴忠勳) รักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดี | |||||||
5 | ช็อน ดู-ฮวัน Chun Doo-hwan / Jeon Duhwan 전두환 全斗煥 (2474–2564) |
11 | 1 กันยายน พ.ศ. 2523 |
25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 |
2523 — 99.9% | พรรคยุติธรรมประชาธิปไตย | |
ประธานาธิบดีคนที่สามของสาธารณรัฐเกาหลีที่สี่ | |||||||
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่ห้า | |||||||
(5) | ช็อน ดู-ฮวัน Chun Doo-hwan / Jeon Duhwan 전두환 全斗煥 (2474–2564) |
12 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2524 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 |
2524 — 90.2% | พรรคยุติธรรมประชาธิปไตย | |
ประธานาธิบดีเพียงคนเดียวของสาธารณรัฐเกาหลีที่ห้า | |||||||
ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐที่หก | |||||||
6 | โน แท-อู Roh Tae-woo / No Taeu Eu 노태우 |
13 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 |
2530 — 36.6% 8,282,738 |
พรรคยุติธรรมประชาธิปไตย | |
ประธานาธิบดีคนที่หนึ่งของสาธารณรัฐเกาหลีที่หก และเป็นประธานาธิบดีคนแรกที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง | |||||||
7 | คิม ย็อง-ซัม Kim Young-sam / Gim Yeongsam 김영삼 金泳三 (2470–2558) |
14 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 |
2535 — 42.0% 9,977,332 |
Democratic Liberal Party (1993–1995) พรรคเกาหลีใหม่ (1995–1997) | |
ประธานาธิบดีคนที่สองของสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
8 | คิม แด-จุง Kim Dae-jung / Gim Daejung 김대중 金大中 (2467–2552) |
15 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 |
2540 — 40.3% 10,326,275 |
National Congress for New Politics (1998–2000) New Millennium Democratic Party (2000–2002) | |
ประธานาธิบดีคนที่สามของสาธารณรัฐเกาหลีที่หก ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพเมื่อปี พ.ศ. 2543 [1] | |||||||
9 | โน มู-ฮย็อน Roh Moo-hyun / No Muhyeon 노무현 盧武鉉 (2489–2552) |
16 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 |
12 มีนาคม พ.ศ. 2547 |
2545 — 48.91% 12,014,277 |
New Millennium Democratic Party (2003) | |
ในช่วงเวลานี้ นายกรัฐมนตรี โก คุน (Goh Kun / 고건 / 高建) รักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดี | |||||||
14 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 |
Impeachment failed; reinstated | Open Uri Party (Our Open Party) (2004–2007) | ||||
ประธานาธิบดีคนที่สี่แห่งสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
10 | อี มย็อง-บัก Lee Myung-bak / I Myeongbak 이명박 李明博 (2484–) |
17 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 |
24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 |
2550 — 48.7% 11,492,389 |
Grand National Party (2008–2012) พรรคแซนูรี (New Frontier Party) (2012–2013) | |
ประธานาธิบดีคนที่ห้าแห่งสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
11 | พัก กึน-ฮเย Park Geun-hye / Bak Geunhye 박근혜 朴槿惠 (2495–) |
18 | 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 |
10 มีนาคม พ.ศ. 2560 |
2555— 51.6% 15,773,128 |
พรรคแซนูรี (New Frontier Party) | |
ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ถึง 10 มีนาคม พ.ศ. 2560 นายกรัฐมนตรี ฮวัง กโย-อัน (Hwang Kyo-ahn / 황교안 / 黃敎安) ดำรงตำแหน่งรักษาการประธานาธิบดีแทน พัก กึน-ฮเย | |||||||
ประธานาธิบดีคนที่หกแห่งสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
ในช่วงเวลานี้ นายกรัฐมนตรี ฮวัง กโย-อัน (Hwang Kyo-ahn / 황교안 / 黃敎安) รักษาการในตำแหน่งประธานาธิบดี | |||||||
12 | มุน แจ-อิน Moon Jae-in / Mun Jaein 문재인 文在寅 (2496–) |
19 | 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 |
9 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 |
2560— 41.08% 13,423,800 |
พรรคประชาธิปไตย (Democratic Party) | |
ประธานาธิบดีคนที่เจ็ดแห่งสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
13 | ยุน ซ็อก-ย็อล Yun Seok-yeol / Yun Seokyeol 윤석열 尹錫悅 (2503–) |
20 | 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 |
ปัจจุบัน | 2565— 48.56% 16,394,8815 |
พรรคพลังประชาชน (people power) | |
ประธานาธิบดีคนที่แปดแห่งสาธารณรัฐเกาหลีที่หก | |||||||
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.