Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน หรือ ภาษาฮกเกี้ยน (ภาษาหมิ่นใต้: 福建話, ภาษาจีน: 泉漳話) เป็นภาษาหมิ่นใต้ที่มีจำนวนผู้ใช้มากที่สุด มักจะใช้เรียกแทนภาษาหมิ่นใต้ ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐานมีแหล่งต้นกำเนิดมาจากจังหวัดจางจิว เจียงจิวและจังหวัดเอ้หมึงในมณฑลฝูเจี้ยน นอกไปจากนี้ยังมีจำนวนผู้ใช้จำนวนมากในไต้หวัน ประเทศสิงคโปร์ และประเทศฟิลิปปินส์บางส่วน
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ภาษาฮกเกี้ยน | |
---|---|
福建話 / 福建语 hok-kiàn-uē | |
ประเทศที่มีการพูด | จีน, ไต้หวัน, มาเลเซีย, อินโดนีเซีย, สิงคโปร์, ฟิลิปปินส์, ไทย(บริเวณจังหวัดภูเก็ตและใกล้เคียง) และบริเวณอื่น ๆ |
ตระกูลภาษา | จีน-ทิเบต
|
ภาษาถิ่น | |
ระบบการเขียน | อักษรจีน (ภาษาเขียนฮกเกี้ยน) อักษรละติน (Pe̍h-ōe-jī) |
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | ไต้หวัน [a] |
ผู้วางระเบียบ | กระทรวงศึกษาธิการ (ในไต้หวัน) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | nan |
การกระจายตัวของภาษาหมิ่นใต้ สีเขียวเข้ม: ฮกเกี้ยน | |
แดง: ทิศเหนือ (สำเนียงเจียงจิว, สำเนียงไต้หวัน) น้ำเงิน: ทิศใต้ (สำเนียงจางจิว, สำเนียงไต้หวัน) ชมพู: ทิศตะวันออก (สำเนียงเอ้หมึง, สำเนียงผสมไต้หวัน) เหลือง: ทิศตะวันตก (สำเนียงเล้งเยียน) | |
ภาษาหมิ่นใต้ถิ่นนั้นไต้หวันเรียกว่า ไตงี่ (จีน: 臺語) ในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้เรียกว่า ฮกเกี้ยนอวย (เป่อ่วยยี: Hok-kiàn-ōe) ส่วนจีนกลางเรียกว่า เฉวียนจางฮว่า (泉漳話) หรือภาษาเจียงจิว-จางจิว เพื่อป้องกันการสับสนกับภาษาฮกจิว (จีน: 福州話)
เกี่ยวกับการเรียกชื่อภาษาหมิ่นใต้นั้น ที่จริงแล้วยังมีคำอื่นที่ใช้เรียกตามความคลุมเครืออีกได้แก่ "ฮกเกี้ยน" (福建話), "หมิ่นใต้" (閩南話), "ไต้หวัน" (臺灣話),"ฮกเล่า" (福佬話), "เอ๋อเล่า" (鶴佬話), "โฮลก" (河洛話) โดยมีที่มาดังนี้
ปัจจุบันภาษาฮกเกี้ยนในประเทศจีนมีการแบ่งแยกเป็นท้องถิ่นอยู่อีกหลายที่ หลัก ๆ แบ่งได้เป็นสี่ที่[8]ได้แก่
ภาษาฮกเกี้ยนในเอเชียตะวันออกเฉียงไต้สามารถแบ่งได้ตามประเทศต่าง ๆ ส่วนใหญ่แล้วมีความใกล้เคียงกับภาษาไต้หวันโดยแบ่งออกเป็นตามประเทศต่าง ๆ ได้แก่
สระ |
วรรณยุกต์
|
ภาษาฮกเกี้ยนในเอ้หมึงกับไต้หวันคือถิ่นจางจิวกับเจียงจิวผสมกัน แต่ว่ามีการเปลี่ยนแปลงไปตามวิวัฒนาการ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าการออกเสียงจะมีการเปลี่ยนไปบ้าง แต่การใช้อักษรไม่มีการเปลี่ยนและมีการใช้สำนวนที่เหมือนกัน นอกนั้นในไต้หวันในช่วงที่ญี่ปุ่นเข้าครอบครองได้รับอิทธิพลจากภาษาญี่ปุ่นพอสมควร ส่วนที่เหลือจะมีการรับอิทธิพลจากภาษามลายู ภาษาอังกฤษ ภาษาแต้จิ๋ว ภาษากวางตุ้งเป็นต้น
ภาษาฮกเกี้ยนทุกถิ่นสามารถสื่อสารอย่างเข้าใจกันได้
ภาษาฮกเกี้ยนจัดเป็นภาษาแยกหน่วยคำ (Analytic language) เหมือนภาษาไทย ดังนั้นคำแต่ละคำจะมีความหมายแยกออกชัดเจนและให้ความหมายตัวต่อตัว[10] ปรกติแล้วจะเป็น ประธาน-กริยา-กรรม เหมือนภาษาไทย ทว่า ภาษาฮกเกี้ยนจะเป็นภาษาเน้นหัวข้อ (Topic-prominent language) ดังนั้นไวยากรณ์จึงไม่มีมาตรฐาน ภาษาฮกเกี้ยนไม่มีเทนซ์ ไม่แบ่งเพศ ไม่มีเอกพจน์พหูพจน์ แต่จะเป็นการเติมคำแยกเหมือนภาษาไทย
บุรุษสรรพนามในภาษาฮกเกี้ยนมีดังนี้
บุรุษสรรพนาม | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
สรรพนามบุรุษที่หนึ่ง |
| |
สรรพนามบุรุษที่สอง | ||
สรรพนามบุรุษที่สาม |
ปัจจัย (หน่วยคำเติมหลัง) สำหรับแสดงความเป็นเจ้าของมักใช้ 的 (ê) , ปัจจัย 之 (chi) ใช้ในคำภาษาจีนดั้งเดิม
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.