ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา เป็นทีมฟุตบอลประจำประเทศยูกันดา อยู่ภายใต้การควบคุมของสหพันธ์สมาคมฟุตบอลยูกันดา เคยจบอันดับที่สองในแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ เมื่อปี ค.ศ. 1978

ข้อมูลเบื้องต้น ฉายา, สมาคม ...
ฟุตบอลทีมชาติยูกันดา
ฉายานกกระเรียน
ดินแดนไข่มุกแห่งแอฟริกา (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสหพันธ์สมาคมฟุตบอลยูกันดา
สมาพันธ์ย่อยสภาสมาคมฟุตบอลแอฟริกาตะวันออกและกลาง (CECAFA)
สมาพันธ์สมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนSébastien Desabre
สนามเหย้าสนามกีฬาแห่งชาติแมนเดลา
รหัสฟีฟ่าUGA
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 88 (19 ธันวาคม 2024)[1]
อันดับสูงสุด62 (มกราคม ค.ศ. 2016)
อันดับต่ำสุด121 (กรกฎาคม ค.ศ. 2002)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
 เคนยา 1–1 ยูกันดา
(ไนโรบี เคนยา; 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1926)
ชนะสูงสุด
ยูกันดา 13–1 เคนยา 
(ยูกันดา; ค.ศ. 1932)
แพ้สูงสุด
 อียิปต์ 6–0 ยูกันดา
(อเล็กซานเดรีย อียิปต์; 30 กรกฎาคม ค.ศ. 1995)
 ประเทศตูนิเซีย 6–0 ยูกันดา
(ตูนิส ตูนิเซีย; 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999)
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์
เข้าร่วม6 (ครั้งแรกใน 1962)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1978)
ปิด

เกียรติประวัติ

เซคาฟาคัพ
  • ชนะเลิศ 14 สมัย (1973, 1976, 1977, 1989, 1990, 1992, 1996, 2000, 2003, 2008, 2009, 2011, 2012, 2015)
  • รองชนะเลิศ 4 สมัย

สถิติการแข่งขันฟุตบอลโลก

ข้อมูลเพิ่มเติม สถิติในฟุตบอลโลก, สถิติรอบคัดเลือก ...
สถิติในฟุตบอลโลก สถิติรอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
ประเทศอุรุกวัย 1930ประเทศเยอรมนีตะวันตก 1974 ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้เข้าร่วม
ประเทศอาร์เจนตินา 1978 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 1 0 1 3 4
ประเทศสเปน 1982 ถอนตัว ถอนตัว
ประเทศเม็กซิโก 1986 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 1 0 1 1 3
ประเทศอิตาลี 1990 2 1 0 1 2 3
สหรัฐอเมริกา 1994 ถอนตัวในรอบคัดเลือก ถอนตัวในรอบคัดเลือก
ประเทศฝรั่งเศส 1998 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 2 0 0 2 1 5
ประเทศเกาหลีใต้ประเทศญี่ปุ่น 2002 2 0 1 1 4 7
ประเทศเยอรมนี 2006 12 3 2 7 10 18
ประเทศแอฟริกาใต้ 2010 6 3 1 2 8 9
ประเทศบราซิล 2014 6 2 2 2 5 6
ประเทศรัสเซีย 2018 8 4 3 1 7 2
ประเทศกาตาร์ 2022 รอแข่งขัน
ทั้งหมด 0/21 42 15 9 18 42 47
ปิด

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

Loading related searches...

Wikiwand - on

Seamless Wikipedia browsing. On steroids.