ดีดีที (DDT) ย่อมาจาก ไดคลอโรไดฟีนิลไตรคลอโรอีเทน (อังกฤษ: dichlorodiphenyltrichloroethane) เป็นยาฆ่าแมลงประเภทสารสังเคราะห์ออร์กาโนคลอรีน นิยมใช้มาตั้งแต่ช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง
ข้อมูลเบื้องต้น ชื่อ, เลขทะเบียน ...
Dichlorodiphenyltrichloroethane
 |
|
 |
ชื่อ |
Preferred IUPAC name
1,1′-(2,2,2-Trichloroethane-1,1-diyl)bis(4-chlorobenzene) |
ชื่ออื่น
Dichlorodiphenyltrichloroethane (DDT) Clofenotane |
เลขทะเบียน |
|
|
3D model (JSmol) |
|
ChEBI |
|
ChEMBL |
|
เคมสไปเดอร์ |
|
ECHA InfoCard |
100.000.023 |
KEGG |
|
|
|
UNII |
|
|
|
InChI=1S/C14H9Cl5/c15-11-5-1-9(2-6-11)13(14(17,18)19)10-3-7-12(16)8-4-10/h1-8,13H Y Key: YVGGHNCTFXOJCH-UHFFFAOYSA-N Y InChI=1/C14H9Cl5/c15-11-5-1-9(2-6-11)13(14(17,18)19)10-3-7-12(16)8-4-10/h1-8,13H Key: YVGGHNCTFXOJCH-UHFFFAOYAJ
|
ClC1=CC=C(C(C(Cl)(Cl)Cl)C2=CC=C(C=C2)Cl)C=C1
|
คุณสมบัติ |
|
C14H9Cl5 |
มวลโมเลกุล |
354.48 g·mol−1 |
ความหนาแน่น |
0.99 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว |
108.5 องศาเซลเซียส (227.3 องศาฟาเรนไฮต์; 381.6 เคลวิน) |
จุดเดือด |
260 องศาเซลเซียส (500 องศาฟาเรนไฮต์; 533 เคลวิน) (สลายตัว) |
|
25 μg/L (25 °C)[1] |
เภสัชวิทยา |
|
QP53AB01 (WHO) QP53AB01 (WHO) |
ความอันตราย |
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (OHS/OSH): |
อันตรายหลัก |
เป็นพิษ เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม สารก่อมะเร็ง |
GHS labelling: |
Pictograms |
   |
Signal word |
อันตราย |
Hazard statements |
H301, H350, H372, H410 |
Precautionary statements |
P201, P202, P260, P264, P270, P273, P281, P301+P310, P308+P313, P314, P321, P330, P391, P405, P501 |
NFPA 704 (fire diamond) |
|
จุดวาบไฟ |
72–77 องศาเซลเซียส; 162–171 องศาฟาเรนไฮต์; 345–350 เคลวิน[2] |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): |
LD50 (median dose) |
113–800 mg/kg (rat, oral)[1] 250 mg/kg (rabbit, oral) 135 mg/kg (mouse, oral) 150 mg/kg (guinea pig, oral)[3] |
NIOSH (US health exposure limits):[4] |
PEL (Permissible) |
TWA 1 mg/m3 [skin] |
REL (Recommended) |
Ca TWA 0.5 mg/m3 |
IDLH (Immediate danger) |
500 mg/m3 |
|
ปิด
ดีดีทีถูกสังเคราะห์ขึ้นเป็นครั้งแรกตั้งแต่ปี ค.ศ. 1874 โดยออตมาร์ ซีดเลอร์ นักเคมีชาวออสเตรีย [5] แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งทราบคุณสมบัติในการกำจัดแมลง ในปี ค.ศ. 1939 จากการค้นพบโดยพอล แฮร์มันน์ มูลเลอร์ นักเคมีชาวสวิส จากนั้นดีดีทีได้ถูกนำมาใช้ในการควบคุมโรคมาลาเรียและไข้รากสาดใหญ่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง และนิยมใช้กำจัดแมลงศัตรูพืชและผลผลิตทางเกษตรกรรมในช่วงหลังสงคราม ประมาณการว่ามีการผลิตและใช้งานดีดีทีถึง 1.8 ล้านตัน [1]
ในปี ค.ศ. 1962 นักชีววิทยาชาวอเมริกันชื่อ ราเชล คาร์สัน ได้ตีพิมพ์หนังสือชื่อ Silent Spring บรรยายถึงผลกระทบของดีดีทีต่อสิ่งแวดล้อม, การก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์ และทำให้สัตว์ป่าหลายชนิดโดยเฉพาะนกเช่น อินทรีหัวขาว มีจำนวนลดลงจนเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ [6] ทำให้เกิดการศึกษาวิจัยสืบเนื่อง และรณรงค์ให้ยกเลิกการใช้ดีดีทีอย่างขนานใหญ่ในสหรัฐอเมริกา จนมีการประกาศใช้กฎหมายห้ามใช้ดีดีทีในสหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 และเกิดอนุสัญญาสต็อกโฮล์ม ห้ามการใช้ดีดีทีทั่วโลกมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 [7]