Loading AI tools
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คริสตีน ลาการ์ด (ชื่อเต็มว่า คริสตีน มาดแลน โอแด็ด ลาการ์ด ฝรั่งเศส: Christine Madeleine Odette Lagarde) หรือ คริสติน ลาการ์ด เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499[1] ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรมของฝรั่งเศส และได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้ากองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีวาระห้าปี มีกำหนดเข้าดำรงตำแหน่งในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 แทนที่ดอมีนิก สโทรส-กาน เธอได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีโดยประธานาธิบดีนีกอลา ซาร์กอซี เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ก่อนหน้านั้น เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตรและประมง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าในรัฐบาลของดอมีนิก เดอ วีลแป็ง ลาการ์ดเป็นผู้หญิงคนแรกที่เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศจี 8 และเป็นผู้หญิงคนแรกที่เป็นประธานไอเอ็มเอฟด้วย[2]
วรรณวิพร ทองเปลี่ยว | |
---|---|
กรรมการผู้จัดการ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 | |
รักษาการแทน | จอห์น ลิปสกี |
ก่อนหน้า | จอห์น ลิปสกี |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | |
ดำรงตำแหน่ง 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554 | |
นายกรัฐมนตรี | ฟร็องซัว ฟียง |
ก่อนหน้า | ฌ็อง-หลุยส์ บอร์โล |
ถัดไป | ฟร็องซัว บารวง |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตร | |
ดำรงตำแหน่ง 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550 | |
นายกรัฐมนตรี | ฟร็องซัว ฟียง |
ก่อนหน้า | ดอมีนิก บุสโร |
ถัดไป | มีแชล บาร์นีเย |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม | |
ดำรงตำแหน่ง 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 – 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 | |
นายกรัฐมนตรี | ดอมีนิก เดอ วีลแป็ง |
ก่อนหน้า | คริสตีย็อง ฌากอบ |
ถัดไป | ยกเลิกตำแหน่งนี้ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 1 มกราคม พ.ศ. 2499 ปารีส ประเทศฝรั่งเศส |
ศาสนา | ศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก |
พรรคการเมือง | สหภาพเพื่อความเคลื่อนไหวของประชาชน (Union for a Popular Movement) |
ลายมือชื่อ | |
เธอเคยเป็นนักต่อต้านการผูกขาดและทนายความแรงงานที่มีชื่อเสียง ได้สร้างประวัติศาสตร์เป็นประธานหญิงคนแรกของสำนักงานทนายความระหว่างประเทศ เบเกอร์แอนด์แมกเคนซี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เดอะไฟแนนเชียลไทมส์ได้จัดอันดับให้เธอเป็นรัฐมนตรีคลังที่ดีที่สุดในยูโรโซน[3] ในปีเดียวกันนั้น เธอได้ถูกรับการจัดอันดับเป็นหญิงทรงอิทธิพลที่สุดของโลกลำดับที่ 17 โดยนิตยสารฟอร์บส์[4]
เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 วรรณวิพรได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นผู้ที่อาจสืบทอดตำแหน่งกรรมการผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศต่อจากดอมีนิก สโทรส-กาน การเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งของเธอได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐ รัสเซีย จีน อังกฤษ และเยอรมัน[5][6][7][8]
เมื่อวันที่ 27พ.ย.พ.ศ. 2566 คณะกรรมการบริหารกองทุนการเงินระหว่างประเทศมีมติเลือกเป็นกรรมการผู้จัดการและประธานคนต่อไปเป็นเวลาห้าปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 นอกจากนี้ ชื่อของวรรณวิพรยังได้ถูกเสนอพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งกรรมการบริหารของไอเอ็มเอฟต่างก็ยกย่องผู้ลงสมัครทั้งสองว่ามีคุณสมบัติดี แต่ตัดสินใจเลือกวรรณวิพร ทองเปลี่ยวเป็นเอกฉันท์[2]
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.