ประเทศกัวเตมาลา
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐกัวเตมาลา República de Guatemala (สเปน) | |
---|---|
ที่ตั้งของ ประเทศกัวเตมาลา (เขียวเข้ม) ในซีกโลกตะวันตก (เทา) | |
เมืองหลวง และเมืองใหญ่สุด | กัวเตมาลาซิตี 14°38′N 90°30′W |
ภาษาราชการ | สเปน |
กลุ่มชาติพันธุ์ (ค.ศ. 2018[2]) |
|
ศาสนา (ค.ศ. 2017)[3] |
|
การปกครอง | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐระบบประธานาธิบดี |
เบร์นาร์โด อาเรบาโล | |
• รองประธานาธิบดี | คาริน เฮอร์เรรา |
• ประธานสภา | เนรี ราโมส |
สภานิติบัญญัติ | สภาแห่งสาธารณรัฐ |
เอกราช | |
• ประกาศ จากจักรวรรดิสเปน | 15 กันยายน ค.ศ. 1821 |
• ประกาศจาก จักรวรรดิเม็กซิโกที่หนึ่ง | 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1823 |
• รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน | 31 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 |
พื้นที่ | |
• รวม | 108,889 ตารางกิโลเมตร (42,042 ตารางไมล์) (อันดับที่ 105) |
0.4 | |
ประชากร | |
• ค.ศ. 2018 ประมาณ | 17,263,239[4] (อันดับที่ 67) |
129 ต่อตารางกิโลเมตร (334.1 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 85) | |
จีดีพี (อำนาจซื้อ) | ค.ศ. 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 145.249 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 75) |
• ต่อหัว | 8,413 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 118) |
จีดีพี (ราคาตลาด) | ค.ศ. 2018 (ประมาณ) |
• รวม | 79.109 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 68) |
• ต่อหัว | 4,582 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 103) |
จีนี (ค.ศ. 2014) | 48.3[5] สูง |
เอชดีไอ (ค.ศ. 2019) | 0.663[6] ปานกลาง · อันดับที่ 127 |
สกุลเงิน | เกตซัล (GTQ) |
เขตเวลา | UTC−6 (เขตเวลาตอนกลาง) |
รูปแบบวันที่ | วว/ดด/ปปปป |
ขับรถด้าน | ขวามือ |
รหัสโทรศัพท์ | +502 |
โดเมนบนสุด | .gt |
กัวเตมาลา (สเปน: Guatemala, ออกเสียง: [ɡwateˈmala] ) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐกัวเตมาลา (สเปน: República de Guatemala) เป็นประเทศในภูมิภาคอเมริกากลาง ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของทวีปอเมริกาเหนือ มีชายฝั่งติดกับทั้งมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลแคริบเบียน พรมแดนด้านตะวันตกจรดเม็กซิโก ตะวันออกเฉียงเหนือจรดเบลีซ และตะวันออกเฉียงใต้จรดฮอนดูรัสและเอลซัลวาดอร์
ภูมิศาสตร์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ลักษณะภูมิประเทศ
เกือบทั้งประเทศเป็นภูเขามีที่ราบต่ำชายฝั่งและที่ราบหินปูน
ลักษณะภูมิอากาศ
ร้อนชื้นในบริเวณที่ราบต่ำและอากาศเย็นในบริเวณที่สูง
ประวัติศาสตร์
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ประวัติชนพื้นเมืองโบราณที่สำคัญของประเทศกัวเตมาลาคือ ชนเผ่ามายา
การเมือง
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พรรคการเมืองสำคัญ
- Grand National Alliance (พรรครัฐบาล)
- Democratic Alliance
- Guatemalan Republic Front
- National Liberal Movement
- National Guatemalan Revolutionary Unity
การแบ่งเขตการปกครอง
ประเทศกัวเตมาลาแบ่งออกเป็น 22 จังหวัด (departamento) ได้แก่
- อัลตาเบราปัซ (Alta Verapaz)
- บาฮาเบราปัซ (Baja Verapaz)
- ชิมัลเตนังโก (Chimaltenango)
- ชิกิมูลา (Chiquimula)
- เปเตน (El Petén)
- เอลโปรเกรโซ (El Progreso)
- เอลกิเช (El Quiché)
- เอสกูอินตลา (Escuintla)
- กัวเตมาลา (Guatemala)
- เวเวเตนังโก (Huehuetenango)
- อิซาบัล (Izabal)
- ฮาลาปา (Jalapa)
- ฮูเตียปา (Jutiapa)
- เกตซัลเตนังโก (Quetzaltenango)
- เรตาลูเลว (Retalhuleu)
- ซากาเตเปเกซ (Sacatepéquez)
- ซานมาร์โกส (San Marcos)
- ซานตาโรซา (Santa Rosa)
- โซโลลา (Sololá)
- ซูชิเตเปเกซ (Suchitepequez)
- โตโตนิกาปัน (Totonicapán)
- ซากาปา (Zacapa)
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสัมพันธ์กับประเทศไทย
สาธารณรัฐกัวเตมาลากับราชอาณาจักรไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 7 มีนาคม 2500 โดยถือเป็นประเทศแรกในภูมิภาคอเมริกากลางที่สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับประเทศไทย กัวเตมาลามีสถานเอกอัครราชทูตประจำประเทศไทยที่กรุงเทพมหานคร โดยเป็นประเทศลาตินอเมริกาประเทศแรกที่เปิดสถานเอกอัครราชทูตในประเทศไทยเมื่อปี 2531[7] และสถานเอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงเม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก มีเขตอาณาครอบคลุมกัวเตมาลา
ในปี 2558 กัวเตมาลาเป็นคู่ค้าอันดับที่ 10 ของไทยในลาตินอเมริกา
ในปี 2560 มีนักท่องเที่ยวชาวกัวเตมาลาเดินทางมาประเทศไทยจำนวน 937 คน[8]
อ้างอิง
บรรณานุกรม
อ่านเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand - on
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.