กรรม (สันสกฤต: कर्म, สัทอักษรสากล: [ˈkɐɽmɐ] ; บาลี: kamma) หมายถึงการกระทำ[1] คำนี้สามารถกล่าวถึงหลักการทางจิตวิญญาณของเหตุภาพ ซึ่งส่วนใหญ่เรียกว่า กฎแห่งกรรม เมื่อเจตนาและการกระทำของบุคคลหนึ่ง (เหตุ) ส่งผลต่ออนาคตของบุคคลนั้น (ผล):[2] เจตนาและการกระทำที่ดีจะเป็นกรรมดีและไปเกิดใหม่, บังเกิดใหม่ในภพภูมิที่ดีกว่าหมายรวมถึงสวรรค์และอาณาจักรแห่งความบริบูรณ์ในคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลาม ในขณะที่เจตนาและการกระทำที่ไม่ดีก่อให้เกิดกรรมชั่วและไปเกิดใหม่ในภพภูมิที่เลวร้ายและทุกข์ทรมานสาหัสยิ่งกว่า[3][4]
หลักปรัชญาของกรรมมีความใกล้ชิดกับแนวคิดการกลับชาติมาเกิดในศาสนาแบบอินเดียหลายสำนัก (โดยเฉพาะศาสนาฮินดู, ศาสนาพุทธ, ศาสนาเชน และศาสนาซิกข์)[5] เช่นเดียวกันกับลัทธิเต๋า[6] ซึ่งกล่าวไว้ว่า กรรมในปัจจุบันส่งผลต่อชีวิตในชาติหน้าใน สังสารวัฏ[7][8] และการบังเกิดใหม่ในคริสต์ศาสนาและศาสนาอิสลามหรือชีวิตหลังความตายที่รออยู่
ดูเพิ่ม
- Adrsta
- อาโมร์ ฟาตี (Amor fati)
- อนันตริยกรรม
- เหตุแห่งกรรม
- ผลของการกระทำนิยม
- โชคชะตา
- การลงโทษของพระผู้เป็นเจ้า
- ธรรม
- กฎทอง
- โฮโอโปโนโปโน (ส่วนของกรรม)
- สมมติฐานโลกยุติธรรม
- กรรมโยคะ
- โชค
- โมกษะ
- Nishkam Karma
- ปฏิจจสมุปบาท
- คำทำนายที่ตอบสนองตนเอง
- ระบบเครดิตจากสังคม (Social Credit System)
- ประเภทของกรรม
- ผลลัพธ์ที่ไม่ได้ตั้งใจ (Unintended consequence)
- ผลงาน (เทววิทยาศาสนาคริสต์)
- สังขาร
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
Wikiwand in your browser!
Seamless Wikipedia browsing. On steroids.
Every time you click a link to Wikipedia, Wiktionary or Wikiquote in your browser's search results, it will show the modern Wikiwand interface.
Wikiwand extension is a five stars, simple, with minimum permission required to keep your browsing private, safe and transparent.