คองเกรสแห่งชาติอินเดีย (Indian National Congress; pronunciationⓘ) (INC, นิยมเรียกย่อ ๆ ว่า พรรคคองเกรส หรือ คองเกรส) เป็นพรรคการเมืองในประเทศอินเดียที่มีรากฐานอันแพร่หลาย[21] เป็นหนึ่งในสองพรรคที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย ควบคู่ไปกับพรรคภารติยชนตา[22] พรรคคองเกรสก่อตั้งขึ้นในปี 1885 และเป็นพรรคชาตินิยมสมัยใหม่พรรคแรกที่เกิดขึ้นในจะจักรวรรดิบริเตนในเอเชียและแอฟริกา[lower-alpha 1][23] ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา โดยเฉพาะหลังปี 1920 ภายใต้การนำของมหาตมะ คานธี พรรคคองเกรสได้กลายมาเป็นผู้นำสำคัญในการเคลื่อนไหวเรียกร้องเอกราชของอินเดีย[24] พรรคคองเกรสได้นำพาให้ประเทศอินเดียหลุดพ้นจากสหราชอาณาจักร,[lower-alpha 2][25][lower-alpha 3][26] และมีผลอย่างมากต่อการเคลื่อนไหวต่อต้านอาณานิคมสายชาตินิยมต่าง ๆ ในจักรวรรดิอังกฤษ[lower-alpha 4][23]
ข้อมูลเบื้องต้น คองเกรสแห่งชาติอินเดียIndian National Congress, ชื่อย่อ ...
คองเกรสแห่งชาติอินเดีย Indian National Congress |
---|
|
ชื่อย่อ | INC |
---|
ผู้ก่อตั้ง | - อัลลัน ออคเทวเวียน
- วิลเลียม วัดเดอร์เบิร์น
- ดับเบิลยู. ซี. บอนเนอร์จี
- สุเรนทรนาถ บาเนร์จี
- โมโนโมหัน โฆเส
- ลัลโมหัน โฆษ
- บาดรุดดีน ตยาบจี
- เอ็ม. จี. รานาเด
- ดาดาไภ นาวโรจี
- ดินศอว วาจา
- เพโรเซสชาห์ เมห์ตา
|
---|
ประธาน | ซอนยา คานธี (ชั่วคราว) |
---|
คณะผู้บริหารสูงสุด | คณะกรรมการออล์อินเดียคองเกรส |
---|
ประธานในรัฐสภา | ซอนยา คานธี[1] |
---|
ผู้นำในโลกสภา | อาธีร์ รันชัน เชาธุรี[2] |
---|
ผู้นำในราชยสภา | Mallikarjun Kharge (ผู้นำฝ่ายค้าน)[3] |
---|
ก่อตั้ง | 28 ธันวาคม 1885 (138 ปีก่อน) (1885-12-28) |
---|
ที่ทำการ | 24, ถนนอัคบาร์, นิวเดลี-110001[4] |
---|
หนังสือพิมพ์ | คองเกรสสนเทศ เนชันนอลเฮรอลด์ |
---|
ฝ่ายนักเรียนนักศึกษา | สหภาพนักเรียนนักศึกษาแห่งชาติอินเดีย |
---|
ฝ่ายเยาวชน | คองเกรสเยวชนอินเดีย |
---|
ฝ่ายสตรี | คองเกรสออล์อินเดียมหิลา |
---|
ปีกแรงงาน | คองเกรสสหภาพการค้าแห่งชาติอินเดีย |
---|
สมาชิกภาพ | 20 ล้าน[5] |
---|
อุดมการณ์ | |
---|
จุดยืน | กลาง[13] ถึง ซ้ายกลาง[14] |
---|
กลุ่มระดับสากล |
- พรอเกสสีฟอัลไลอันซ์[15]
- ซอเชียลลิสต์อินเทอร์เนชันนอล[16]
|
---|
สี | น้ำเงินท้องฟ้า[17][18] |
---|
สถานะโดย ECI | พรรคแห่งชาติ[19] |
---|
พันธมิตร |
|
---|
ที่นั่งในโลกสภา | (ปัจจุบัน 542 ตำแหน่ง และ 1 ว่าง)
|
---|
ที่นั่งในราชยสภา | (ปัจจุบัน 241 ตำแหน่ง และ 4 ว่าง)[20]
|
---|
ที่นั่งในสภานิติบัญญัติประจำรัฐต่าง ๆ |
(ปัจจุบัน 3983 คน และ 136 ว่าง)
(see complete list) |
---|
ที่นั่งในคณะกรรมการนิติบัญญัติประจำรัฐต่าง ไ |
(ปัจจุบัน 373 คน และ 53 ว่าง)
(see complete list) |
---|
จำนวนรัฐและดินแดนสหภาพที่เป็นรัฐบาล |
(currently 28 รัฐ และ 2 ยูที) |
---|
เว็บไซต์ |
---|
www.inc.in |
การเมืองอินเดีย รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
ปิด
หมายเหตุ
"The first modern nationalist movement to arise in the non-European empire, and one that became an inspiration for many others, was the Indian Congress."[23]
"South Asian parties include several of the oldest in the post-colonial world, foremost among them the 129-year-old Indian National Congress that led India to independence in 1947"[25]
"The organization that led India to independence, the Indian National Congress, was established in 1885."[26]
"... anti-colonial movements ... which, like many other nationalist movements elsewhere in the empire, were strongly infuenced by the Indian National Congress."[23]
อ้างอิง
Agrawal, S. P.; Aggarwal, J. C., บ.ก. (1989). Nehru on Social Issues. New Delhi: Concept Publishing. ISBN 978-817022207-1.
Saez, Lawrence; Sinha, Aseema (2010). "Political cycles, political institutions and public expenditure in India, 1980–2000". British Journal of Political Science. 40 (1): 91–113. doi:10.1017/s0007123409990226.
- The Indian National Congress: An Historical Sketch, by Frederick Marion De Mello. Published by H. Milford, Oxford University Press, 1934.
- The Indian National Congress, by Hemendra Nath Das Gupta. Published by J. K. Das Gupta, 1946.
- Indian National Congress: A Descriptive Bibliography of India's Struggle for Freedom, by Jagdish Saran Sharma. Published by S. Chand, 1959.
- Social Factors in the Birth and Growth of the Indian National Congress Movement, by Ramparkash Dua. Published by S. Chand, 1967.
- Split in a Predominant Party: The Indian National Congress in 1969, by Mahendra Prasad Singh. Abhinav Publications, 1981. ISBN 81-7017-140-7.
- Concise History of the Indian National Congress, 1885–1947, by B. N. Pande, Nisith Ranjan Ray, Ravinder Kumar, Manmath Nath Das. Published by Vikas Pub. House, 1985. ISBN 0-7069-3020-7.
- The Indian National Congress: An Analytical Biography, by Om P. Gautam. Published by B.R. Pub. Corp., 1985.
- A Century of Indian National Congress, 1885–1985, by Pran Nath Chopra, Ram Gopal, Moti Lal Bhargava. Published by Agam Prakashan, 1986.
- The Congress Ideology and Programme, 1920–1985, by Pitambar Datt Kaushik. Published by Gitanjali Pub. House, 1986. ISBN 81-85060-16-9.
- Struggling and Ruling: The Indian National Congress, 1885–1985, by Jim Masselos. Published by Sterling Publishers, 1987.
- The Encyclopedia of Indian National Congress, by A. Moin Zaidi, Shaheda Gufran Zaidi, Indian Institute of Applied Political Research. Published by S.Chand, 1987.
- Indian National Congress: A Reconstruction, by Iqbal Singh, Nehru Memorial Museum and Library. Published by Riverdale Company, 1988. ISBN 0-913215-32-5.
- INC, the Glorious Tradition, by A. Moin Zaidi, Indian National Congress. AICC. Published by Indian Institute of Applied Political Research, 1989.
- Indian National Congress: A Select Bibliography, by Manikrao Hodlya Gavit, Attar Chand. Published by U.D.H. Pub. House, 1989. ISBN 81-85044-05-8.
- The Story of Congress PilgrFile: 1885–1985, by A. Moin Zaidi, Indian National Congress. Published by Indian Institute of Applied Political Research, 1990. ISBN 81-85355-46-0. (7 vols)
- Indian National Congress in England, by Harish P. Kaushik. Published by Friends Publications, 1991.
- Women in Indian National Congress, 1921–1931, by Rajan Mahan. Published by Rawat Publications, 1999.
- History of Indian National Congress, 1885–2002, by Deep Chand Bandhu. Published by Kalpaz Publications, 2003. ISBN 81-7835-090-4.
- Bipan Chandra, Amales Tripathi, Barun De. Freedom Struggle. India: National Book Struggle. ISBN 978-81-237-0249-0.